Page 9 - จุลสารสามิตภาคที่ 2 ปีที่ 25 ฉบับที่ 1
P. 9
4. การช าระภาษีด้วยบัตรภาษีอเล็กทรอนิกส์
ิ
โครงการพฒนาระบบช าระค่าภาษีอากรด้วยบัตรภาษีอเล็กทรอนิกส์ (Digital Tax
ั
ิ
ื่
Compensation : DTC) เป็นความร่วมมือ ระหว่าง กรมศุลกากร กรมสรรพากร และกรมสรรพสามิต เพอ
พัฒนาระบบช าระค่าภาษีอากรด้วยบัตรภาษีอิเล็กทรอนิกส์ ท าให้ผู้ประกอบการสามารถ ช าระค่าภาษีอากร
ด้วยวงเงินชดเชยอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับใบขนสินค้าขาเข้าและใบขนสินค้าขาออก ท าให้สามารถช าระเงิน
ค่าภาษีอากรด้วยบัตรภาษีอเล็กทรอนิกส์ได้ด้วยตนเองตลอด 24 ชั่วโมง และสามารถยื่นภาษีผ่านระบบ
ิ
ิ
ิ
ิ
เครือข่ายอนเทอร์เน็ตพร้อมกับช าระด้วยบัตรภาษีอเล็กทรอนิกส์หรือจะมาน าบัตรภาษีอเล็กทรอนิกส์มา
ช าระภาษีที่ส านักงานสรรพสามิตพื้นที่หรือพื้นที่สาขาได้ โดยจะเริ่มใช้วันที่ 21 กันยายน 2564 เป็นต้นไป
ภาพที่ 4 แสดงการช าระภาษีด้วยบัตรภาษีอิเล็กทรอนิกส์
การช าระภาษีสรรพสามิตด้วยระบบอเล็กทรอนิกส์ เป็นการอานวยความสะดวกแก่ผู้เสียภาษี
ิ
อกทั้งยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร และผู้เสียภาษีไม่ต้องเดินทางมาที่ส านักงานฯ โดยเฉพาะใน
ี
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) รวมทั้งสามารถลดความเสี่ยงด้าน
ธรรมาภิบาล ได้แก่ 1) หลักนิติธรรม เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
2) หลักคุณธรรม ลดปัญหาการทุจริตของเจ้าหน้าที่ กรมสามารถตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา
3) หลักความโปร่งใส เจ้าหน้าที่ลดความเสี่ยงด้านการเก็บรักษาเงิน 4) หลักความมีส่วนร่วม เสียภาษีเป็น
ิ
ผู้ช าระเงินในระบบ เมื่อเจ้าหน้าที่ตรวจสอบการยื่นแบบและเงินที่ได้รับถูกต้อง ผู้เสียภาษีสามารถพมพ ์
ใบเสร็จรับเงินหรือใบอนุญาตในระบบงานได้เอง 5) หลักความรับผิดชอบ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานลดความ
เสี่ยงในการสูญหายของเงินสดหรือเช็ค 6) หลักความคุ้มค่า รัฐบาลสามารถลดค่าใช้จ่ายในการพิมพ์ธนบัตร
เจ้าหน้าที่สามารถลดขั้นตอนการท างาน เช่น การตรวจนับเงินสดประจ าวัน ลดการน าเงินสดและเช็คไปฝาก
ที่ธนาคาร และการลดโอกาสในการทุจริตของภาครัฐด้วย
[7]