Page 11 - หนังสืออิเล็คทรอนิกส์-ภูมินามอำเภอบ้านแพง
P. 11
ชาวญ้อ นิยมสร้างบ้านเรือนอยู่กันเป็นกลุ่มสังคมย่อยในวงศ์ญาติพี่น้องของตน และเมื่อมีจำนวนมาก
ขึ้นก็กลายเป็นหมู่บ้าน หรือทเรียกว่า “คุ้ม” และมีวัดประจำคุ้มหรือวัดประจำหมู่บานของพวกตน
้
ี่
4.1 ด้านวิถีชีวิตและความเป็นอยู่
ชาวไทย้อมีการตั้งถิ่นฐาน
อยู่ใกล้แม่น้ำ เช่น แม่น้ำโขง แม่น้ำสงคราม
์
ภูมิปัญญาของชาวญ้อที่เป็นเอกลักษณสำหรับ
ในเรื่องอาหารการกินที่ขึ้นชื่อของหมู่บ้านนี้
อีกทั้งยังได้รับวัฒนธรรมหลายเชื้อชาติ ได้แก่
ลาว ญวณ จีน อาหารที่น่าสนใจในอำเภอบ้าน
แพง คือ เช่น คือ การทำปลาร้า ปลาส้ม
ขาหมูยัดไส้ ของชาวญวณเลาะกระดูก ให้
่
้
เหลือเทากับหนังหมู ใสหมูสับ เห็ดหอม หูหมู
ซอย มันหมู และพริกไทดำ ยัดส่วนผสมเข้าไปในขาหมูที่เลาะและคว้านเอากระดูกเอ็น และเนื้อออก
้
เย็บปิดดานบนด้วยด้าย แล้วนึ่งอีก 12 ชั่วโมง
อีกทั้งแหนมหมู ที่มีกรรมวิธีหมักเนื้อหมูสับ
หนังหมู กระเทียม เครื่องปรุงรสห่อด้วยใบตอง
ทิ้งไว้ 2-3 วันเพื่อให้มีรสเปรี้ยว และขนมที่รู้จัก
ั
กันดีก็คือ ขนมเทียนแก้ว ทำจากแป้งมันสำปะหลง
ไส้ถั่วเขียวซีกตามด้วยเครื่องปรุงรส น้ำตาลทราย
พริกไทยป่น เกลือป่น แล้วผัดให้เข้ากัน กวนแป้ง
้
จากนั้นนำมาห่อไส และห่อใบตองแล้วนำมานึ่ง
4.2 ด้านประเพณี ท้องถิ่นที่สำคัญ
มีประเพณีที่น่าสนใจ ได้แก่ ประเพณแพเซิ้งลอยกระทง ประเพณีบุญบั้งไฟ
ี
พญานาค และประเพณีงาน ไหว้ศาลเจาพ่อคำแดง
้
4.3 ด้านภาษา
ุ่
ชาวอำเภอบ้านแพงมีเชื้อชาติพันธุ์ย้อ ไทย้อ ญ้อ เป็นประชากรกลุ่มใหญ่กลมหนึ่ง
ในจังหวัดนครพนม มีภาษาพูดเหมือนภาษาไทยลาว ถิ่นฐานเดิมของไทญ้อ อยู่ที่เมืองหงสา
้
แขวงไชยบุรี ของประเทศลาวหรือล้านชางของไทยสมัยก่อนชาวญ้อมีภาษาพูด ตรงที่ฐานเสียงอักษร
สูง และเสียงจัตวา จะเน้นหนักในลำคอ น้ำเสียงสง อ่อนหวาน ฐานเสียงสระ เอือ ใอ ประโยคว่า
ู
้
อยู่ทางได เป็น อยู่ทางเลอ เจาสิไปไส เป็น เจ้านะไปกะเลอ เป็นต้น อดีตเคยใช้อักษรธรรม
หรืออักษรไทยน้อย เช่นเดียวกับชาวอีสาน ปัจจุบันใช้อักษรไทยทั้งสิ้น