Page 30 - เล่มที่ 1 สรุปสาระสำคัญ RCEP
P. 30
- 26 -
17.2 ให้มีการเผยแพร่กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ กระบวนการ และค าวินิจฉัยทางปกครองที่ใช้
โดยทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับความตกลงโดยเร็ว รวมถึงทางอินเทอร์เน็ตหากท าได้ และให้มีการเผยแพร่ล่วงหน้ากรณีที่
ี่
มีการเสนอทจะน ามาใช้ รวมถึงให้โอกาสในการแสดงความเห็น
็
17.3 เมื่อมีการร้องขอและเหนว่าอาจกระทบต่อการด าเนนการของความตกลง จะต้องมการให้ขอมล
้
ู
ิ
ี
และตอบคาถามโดยเร็วเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบขอบังคบ กระบวนการ และคาวินิจฉยทางปกครองทใช้
ี
ั
ั
่
้
โดยทั่วไปที่มีอยู่ในปัจจุบันหรือก าลังเสนออยู่
ื
17.4 ไม่ก าหนดให้ภาคีต้องให้ข้อมูลความลับหากเป็นการขัดต่อกฎหมาย ประโยชน์สาธารณะ หรอ
กระทบผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ของหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน
้
17.5 ในกรณีที่บุคคลของภาคีได้รับผลกระทบจากกระบวนการทางการปกครองท่เกยวของกบ
ี
ี
ั
่
้
ประเดนในความตกลงฉบับน จะตองไดรับการแจ้งขอมลประเดน กฎหมาย และกระบวนการทเกยวของตาม
ี
้
้
้
่
็
้
ี
ี
็
่
ู
สมควรตามกระบวนการภายใน และบุคคลที่เกี่ยวข้องมีโอกาสที่สมเหตุสมผลในการเสนอขอเทจจริงและเหตผลที่
็
้
ุ
เกี่ยวข้องก่อนที่จะมีการตัดสิน
ี
้
ื
ุ
ิ
17.6 ภาคจะตองมีกระบวนการยตธรรม หรือกระบวนการเพอการทบทวนและการอทธรณผลคา
่
์
ุ
ตัดสินของกระบวนการปกครองประเด็นที่เกี่ยวข้องกับความตกลงฉบับนี้ โดยจะต้องเป็นหน่วยงานที่มีความเป็น
กลางไม่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อผลการตัดสินอย่างมีนัยส าคัญ และให้แต่ละฝ่ายสามารถเสนอเหตุผลชี้แจงสนับสนุน
ตามสมควร และต้องท าให้มั่นใจว่าผลค าตัดสินดังกล่าวจะได้รับการปฏิบัติตาม
17.7 เมื่อมีการให้ข้อมูลที่ก าหนดว่าเป็นความลับ จะต้องมีการรักษาความลับของข้อมูลภายใต้
กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของตน
17.8 ภาคีจะต้องมีมาตรการที่เหมาะสมในการป้องกันและต่อต้านการทุจริต โดยเป็นไปตามกฎหมาย
และระเบียบข้อบังคับของตน ซึ่งเรื่องนี้จะไม่อยู่ภายใต้บทบัญญัติการระงับข้อพิพาท
17.9 ยืนยันสิทธิและพนธกรณีตามอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on
ั
Biological Diversity)
ุ
ั
ิ
ึ
่
ี
ู
้
ุ
17.10 การตดสนโดยหน่วยงานผมอานาจ รวมถงหนวยงานด้านการลงทนของต่างชาติ ในการอนญาต
หรือยอมรับข้อเสนอของการลงทุนต่างชาติ ไม่อยู่ภายใต้บทบัญญัติการระงับข้อพิพาท
่
ี
ั
็
17.11 ภาคีมีสิทธิที่จะก าหนดนโยบายส าคัญและด าเนินมาตรการทเปนประโยชนสาธารณะ โดยอาศย
์
้
ข้อยกเว้นทั่วไปตามข้อ 20 ของความตกลง GATT 1994 และขอ 14 ของความตกลง GATS ซึ่งน ามาบรรจุใน
ื
ความตกลง โดยรวมถึงมาตรการสิ่งแวดล้อมที่จ าเป็นต่อการปกป้องชีวิตหรือสุขภาพมนุษย์ สัตว์และพช และ
มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่หมดไปได้ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
17.12 ภาคีสามารถด าเนินมาตรการที่เห็นว่าจ าเป็นส าหรับการปกป้องผลประโยชน์ด้านความมั่นคงที่
จ าเป็น (essential security interests) ของตน ได้แก่ เกี่ยวกับวัสดุที่สามารถแตกตัวทางอะตอมหรือวัสดุที่
เกิดขึ้นจากวัสดุนั้น เกี่ยวกับการค้าอาวุธ ยุทธภัณฑ์ และเครื่องมือเกี่ยวกับการสงคราม และการค้าสินค้าและวัสดุ
่
ื่
้
อืน หรือเกี่ยวกับการให้บริการ ซึ่งกระท าโดยทางตรงหรือทางออมเพอความมุ่งประสงค์ในการจัดหาให้แก่หน่วย
จดต้งทางทหาร ด าเนนการเพอปกปองโครงสรางพนฐานสาธารณะไมว่าจะเป็นของรัฐหรือของเอกชน ซึ่งรวมถึง
ั
ั
้
่
ื
้
้
ื
ิ
่
ื
ั
้
ื
่
่
ื
ิ
โครงสรางพ้นฐานด้านการติดตอสอสาร พลงงาน และประปา ดาเนนการในยามฉกเฉนภายใน หรอในยาม
ุ
ิ
สงคราม หรือในยามฉุกเฉินอน ๆ เกี่ยวกับความสัมพนธ์ระหว่างประเทศ หรือ การปฏิบัติตามพนธกรณีของตน
ั
ั
ื่
ภายใต้กฎบัตรสหประชาชาติเพื่อการด ารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
17.13 ความตกลงฉบับนี้ไม่ใช้บังคับกับมาตรการทางภาษี เว้นแต่ในกรณีที่ความตกลง WTO ได้
ก าหนดพันธกรณีเกี่ยวกับมาตรการทางภาษี และส าหรับพันธกรณีเรื่องการโอนภายใต้บทการลงทุน
17.14 อนุญาตให้ภาคีออกมาตรการปกป้องชั่วคราวในกรณีที่ดุลการช าระเงินเกิดวิกฤติและการเงินการ
คลังอยู่ในสถานการณ์ยากล าบากหรือมีภัยคุกคาม โดยจะต้องสอดคล้องกับข้อตกลงว่าด้วยกองทุนการเงิน
ั
ระหว่างประเทศ (IMF) และหลีกเลี่ยงความเสียหายอนไม่จ าเป็นต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการเงินของ
ภาคีอื่น อีกทั้งจะต้องแจ้งโดยเร็วหากมีการเปลี่ยนแปลง