Page 171 - รวมเล่มข้อบังคับ ระเบียบ 2566
P. 171
164
~ 3 ~
ข้อ 16 สมาชิกที่อยู่ในการปรับโครงสร้างตามระเบียบนี้ สมาชิกจะไม่มีสิทธิกู้เงินทุกประเภทจาก
ื่
ื่
สหกรณ์ได้อกยกเว้นให้กู้เงินเพอเหตุฉุกเฉิน (หน้าเคาน์เตอร์) ทั้งนี้สิทธิการกู้เงินเพอเหตุฉุกเฉินให้เป็นไปตามที่
ี
กำหนดไว้ในระเบียบของเงินกู้ดังกล่าวโดยเคร่งครัดห้ามพิจารณาอนุมัติให้กู้เป็นกรณีพิเศษทุกกรณี
(ข้อ 16 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 3) มตคณะกรรมการดำเนนการ ชุดที่ 69 ครั้งที่ 7/2566 วันท 23 พฤษภาคม 2566)
ิ
ี่
ิ
ข้อ 17 สมาชิกที่ทำการปรับโครงสร้างหนี้ เมื่อได้รับการอนุมัติให้ปรับโครงสร้างหนี้แล้ว ต้องยินยอม
ิ
ให้นำเงินปันผล-เฉลี่ยคืนประจำปีที่จะได้รับ ชำระดอกเบี้ยค้างชำระเงนกู้ทุกสัญญา เงินปันผล-เฉลี่ยคืนประจำปี
หลังจากหักชำระดอกเบี้ยค้างชำระเงินกู้แล้ว ถ้ายังมีเหลือให้นำมาหักชำระตามข้อ 18 (ถ้ามี)
(ข้อ 17 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 2) มติคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ 68 ครั้งที่ 4/2565 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565)
ข้อ 18 ในกรณีผู้กู้ผิดนัดชำระหนี้ในระหว่างการปรับโครงสร้างหนี้ จนเป็นเหตุให้หักเงินงวดรายเดือน
จากผู้ค้ำประกัน ผู้กู้ต้องยินยอมให้สหกรณ์นำเงินปันผล-เฉลี่ยคืนประจำปีหลังจากหักชำระตามข้อ 17 ให้กับ
ผู้ค้ำประกันที่ถูกหักเงินงวดรายเดือนของผู้กู้ หรือเงินสวัสดิการที่จะได้รับเมื่อเสียชีวิต,เงินฌาปนกิจสงเคราะห์
หรือเงินอนใด ชดใช้ให้แก่ผู้ค้ำประกันตามจำนวนที่ผู้ค้ำประกันถูกหักชำระหนี้แทนผู้กู้ก่อน หากในกรณีผู้ค้ำ
ื่
ประกันที่ชำระหนี้แทนเสียชีวิตก่อนผู้มีสิทธิได้รับผลประโยชน์จากผู้เสียชีวิตยินยอมให้สหกรณ์กนเงินส่วนที่ชำระ
ั
ในฐานะผู้ค้ำประกันให้กับทายาทผู้ค้ำประกันก่อน หากมีเงินเหลือให้จ่ายคืนแก่ผู้มีสิทธิของผู้กู้ต่อไป
(ข้อ 18 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ 2) มติคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ 68 ครั้งที่ 4/2565 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565)
ข้อ 19 ให้คณะกรรมการดำเนินการมอบหมายให้คณะกรรมการเงินกู้ดำเนินการในเรื่องการปรับ
ื่
โครงสร้างหนี้และนำเสนอคณะกรรมการดำเนินการเพอพิจารณาต่อไป
ข้อ 20 ในการประชุมคณะกรรมการเงินกู้ ต้องมีคณะกรรมการเงินกู้ เข้าร่วมประชุมไม่น้อยกว่าสองใน
สามของคณะกรรมการ จึงจะเป็นองค์ประชุมปรับโครงสร้างหนี้
ข้อ 21 อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการเงินกู้ มีดังนี้
(1) พิจารณากลั่นกรองคัดเลือกลูกหนี้ที่สมควรได้รับการปรับโครงสร้างหนี้ตามระเบียบนี้
(2) เจรจาประนีประนอมเพิ่มเติมเงื่อนไขหนี้ตามที่เห็นสมควร
(3) วิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้
ิ
ื้
ู
(4) พจารณาแนวทางการปรับปรุงฟนฟฐานะทางการเงินของลูกหนี้ให้มีคุณภาพ เป็นไปตาม
นโยบายที่สหกรณ์กำหนด
(5) เสนอความคิดเห็นประกอบการพจารณาการปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้ต่อ
ิ
คณะกรรมการดำเนินการ
้
(6) ติดตาม กำกับ ควบคุม และแกไขปัญหาการปรับโครงสร้างหนี้ของสหกรณ์ให้สอดคล้องกบ
ั
การบริหารหนี้ค้างของสหกรณ์
ข้อ 22 อำนาจหน้าที่คณะกรรมการดำเนินการในการพิจารณาการปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้ มีดังนี้
ิ
(1) พจารณาอนุมัติการปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการปรับ
โครงสร้างหนี้ พ.ศ. 2563
(2) พิจารณากำหนดแนวทางการปรับโครงสร้างหนี้ของลูกหนี้ให้มีคณภาพเป็นไปตามนโยบาย
ุ
หรือหลักเกณฑ์ที่สหกรณ์กำหนด
ั
้
(3) ติดตาม กำกับ ควบคุม และแกไขปัญหาการปรับโครงสร้างหนี้ของสหกรณ์ให้สอดคล้องกบ
การบริหารหนี้ค้างของสหกรณ์
ข้อ 23 คณะกรรมการดำเนินการทรงไว้ซึ่งสิทธิในการบอกเลิกสัญญาการปรับโครงสร้างหนี้ กรณี
สมาชิกไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรือข้อกำหนดตามระเบียบนี้ หรือจงใจปกปิดข้อเท็จจริง หากคณะกรรมการทราบ
ภายหลังโดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
ข้อ 24 กรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินการตรามระเบียบนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ