Page 7 - กิจกรรม การออกแบบโมเดลกังหันผลิตกระแสไฟฟ
P. 7
ตอนที่ 3
รูปที่ 3
วิธีการทดลอง
ตอนที่ 1
1. วงจรรูปที่ 1 ให้ตัวต้านทาน R = 1 k, R = 2.2 k, R = 4.7 k และ E = 10 volts และให้ตัวต้านทาน R 2
2
3
1
ขนานกับ R จากรูปที่ 1 สังเกตแรงดันไฟฟ้าที่จุด A, B และ C บันทึกผลลงในตารางที่ 1 และคำนวณความ
3
คลาดเคลื่อนผลจากการทดลองเทียบกับทฤษฎี
2. ใช้แอมมิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน R , R และ R ตามลำดับ บันทึกผลลงในตารางที่ 2 และ
3
2
1
คำนวณความคลาดเคลื่อนผลจากการทดลองเทียบกับทฤษฎี
ตอนที่ 2
3. วงจรรูปที่ 2 ให้ตัวต้านทาน R = 3.3 k, R = 2.2 k, R = 4.7 k, R = 6.8 k และ E = 20 volts โดยตัว
2
1
4
3
ต้านทาน R , R และ R ต่อแบบอนุกรมกัน สังเกตแรงดันไฟฟ้าที่ไหลผ่านจุด A, B, C, D และ E บันทึกผลลง
4
2
3
ในตารางที่ 3 และคำนวณความคลาดเคลื่อนผลจากการทดลองเทียบกับทฤษฎี
4. ใช้แอมมิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าที่ออกจากแหล่งกำเนิด และไหลผ่าน R และ R บันทึกผลลงในตารางที่ 4
2
1
และคำนวณความคลาดเคลื่อนผลจากการทดลองเทียบกับทฤษฎี
ตอนที่ 3
5. วงจรรูปที่ 3 ให้ตัวต้านทาน R = 1 k, R = 2.2 k, R = 4.7 k และ E = 10 volts และ E = 10 volts
3
1
2
1
2
และให้ตัวต้านทาน R ขนานกับ R จากรูปที่ 3 สังเกตแรงดันไฟฟ้าที่จุด A, B และ C บันทึกผลลงในตารางที่
3
2
5 และคำนวณความคลาดเคลื่อนผลจากการทดลองเทียบกับทฤษฎี
6. ใช้แอมมิเตอร์วัดกระแสไฟฟ้าที่ตัวต้านทาน R , R และ R ตามลำดับ บันทึกผลลงในตารางที่ 6 และ
2
1
3
คำนวณความคลาดเคลื่อนผลจากการทดลองเทียบกับทฤษฎี