Page 20 - โครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 20

8


                       3.4 การจัดทําฐานขอมูล
                              การจัดทําฐานขอมูลแบงงานออกเปน 2 สวน ดังนี้

                                                                                                ี
                                                        ี
                              1. การจัดการฐานขอมูลแผนท่เชิงเลข เปนการจัดทําแผนท่โดยนําขอมูลแผนท่จากหนวยงาน
                                                                                ี
                                                                            ่
                                                      ี
                                         ่
                                ี
                                                      ่
                                         ี
                                                                            ี
                                                                                                   ื
                                                                                                         
                                                                                                           ู
                                                                                              ั
                                                                                 ื
                                                                                         ี
                                                                                          ิ
                              ี
                              ่
                       ตาง ๆ ทมรูปแปลงทดิน พรอมเลขทดินมาประกอบเปนแผนทการถอครองท่ดน ท้งนี้เพ่อเปนขอมล
                        
                       สําหรับใชในการสํารวจในพื้นที่ดําเนินงาน ซึ่งภายหลังเมื่อแลวเสร็จจึงใชเทคนิคดานสารสนเทศภูมิศาสตร
                       เชื่อมโยงขอมูลแผนที่เขากับขอมูลจากการสัมภาษณ  
                                                                                             
                              2. การจัดการขอมูลอรรถาธิบาย เปนการออกแบบ และการจัดการฐานขอมูล ท่ไดจากการ
                                                                                                   ี
                       สอบถาม เพื่อใชสําหรับเชื่อมโยงกับขอมูลแผนที่เชิงเลข
                       3.5 การวิเคราะหขอมูล
                                                           
                                                                                                           ู
                              หลังจากการตรวจสอบความถกตอง ครบถวนของขอมูลแลว ดําเนินการวิเคราะหขอมล
                                                                    
                                                                            
                                                         ู
                                                                                                         
                       ดวยโปรแกรมดานภูมิสารสนเทศ โดยแบงลักษณะขอมูลออกเปนหัวขอตาง ๆ ดังนี้
                                 ๔.๑ เขตการปกครองในพื้นที่ดําเนินงาน
                                 ๔.๒ กลุมชุดดินในพื้นที่ดําเนินงาน
                                 ๔.๓ การถือครองที่ดินในพื้นที่ดําเนินงาน
                                 ๔.๔ สัดสวนของขนาดแปลงที่ดินในพื้นที่ดําเนินงาน
                                 ๔.๕ การจําแนกประเภทของการถือเอกสารสิทธิในพื้นที่ดําเนินงาน
                                                                              ี่
                                 ๔.๖ การจําแนกลักษณะของผูใชประโยชนที่ดินในพื้นทดําเนินงาน
                                 ๔.๗ การใชประโยชนที่ดินตามการจําแนกการใชประโยชนที่ดินระดับ 3 ของกรมพัฒนาที่ดิน
                                                    ี่
                                 ๔.๘ ลักษณะสภาพพนทและความเหมาะสมของดินสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ (ขาว)
                                                  ื้
                                 ๔.๙ แหลงที่มาของน้ําที่ใชในดานเกษตรกรรมของเกษตรกร
                               ๔.๑๐ การใชปุยในการเพาะปลูกในพื้นที่ดําเนินงาน
                                                            ั
                               ๔.๑๑ การใชสารเคมปราบโรคพืชศตรูพืชและวัชพืชในพื้นที่ดําเนินงาน
                                                 ี
                               ๔.๑๒ ลักษณะปญหาดานการเกษตรที่พบในพื้นที่ดําเนินงาน
                               ๔.๑๓ ดินปญหาในพื้นที่ดําเนินงาน
                               ๔.๑๔ การเขารวมกิจกรรมบัตรดินดีของกรมพัฒนาที่ดิน
                               ๔.๑๕ การรับบริการปจจัยการผลิตจากกรมพัฒนาที่ดิน
                               ๔.๑๖ รายไดจากผลผลิตทางการเกษตร
                                                                     ิ
                               ๔.๑๗ การปลูกไมยืนตนทมมูลคาทางเศรษฐกจ
                                                     ี่
                                                      ี
                               ๔.๑๘ การไดรับบริการความรูวิชาการ การแกไขปญหาดินเค็มและการใชประโยชนที่ดีใหเหมาะสม
                               ๔.๑๙ การไดรับบริการองคความรูและแปลงสาธิตการใชประโยชนพื้นที่ดินเค็ม
                       3.6 การนําเสนอผลการดําเนินงาน

                                                                                           ิ
                                                                                          ี
                                                                                          ่
                                                         ี
                              เพ่อนําเสนอตอสถานีพัฒนาท่ดินขอนแกน และสํานักงานพัฒนาทดนเขต 5 สําหรับใช
                                          
                                ื
                                                                   
                                                                                                    ึ
                       ในประโยชนดานฐานขอมล และแผนท่ในระบบสารสนเทศภูมศาสตรของหนวยงาน รวมถงเผยแพร
                                                                            ิ
                                          
                                             ู
                                                        ี
                                                  ี่
                       ตอองคการปกครองสวนทองถิ่นทไดเขาไปปฏิบัติงานในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกสและไฟลแผนทเชิงเลข
                                                                                                    ี่
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25