Page 91 - โครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 91
ก
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
การดำเนินงานในโครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพอการพฒนาที่ดินปีงบประมาณ
ั
ื่
พ.ศ. 2564 ในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็ม เพอป้องกันการแพร่กระจายดินเค็ม มีวัตถุประสงค์
ื่
เพื่อสำรวจภาวะการถือครองที่ดินของเกษตรกรอย่างละเอียด ซึ่งผลของการดำเนินงานทำให้ได้ข้อมูลที่อยู่
ในรูปของสารสนเทศภูมิศาสตร์ ประกอบด้วยรายชื่อผู้ถือครองที่ดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน ตลอดจน
กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นด้านการเกษตรที่เกษตรกรได้กระทำในพนที่ เช่น แหล่งน้ำที่ใช้ด้านการเกษตร
ื้
ปัญหาในการทำการเกษตร สัดส่วนขนาดของแปลงที่ดินของเกษตรกร เป็นต้น ทั้งนี้โดยใช้ฐานข้อมูลแปลงที่ดิน
ื่
เชิงเลขจากกรมที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพอเกษตรกรรม ตลอดจนข้อมูลแผนที่กระดาษ หลักฐาน
การเสียภาษีของเกษตรกรที่องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกยวข้อง ที่ถูกรวบรวม และ
ี่
ปรับให้อยู่ในระบบแผนที่เชิงเลข
ื้
สำหรับการปฏิบัติงานในพนที่ เจ้าหน้าที่จะทำการประสานงานกับผู้นำชุมชนในแต่ละหมู่บ้าน
ื่
ั
เพอประชาสัมพนธ์การเข้าปฏิบัติงาน รวมถึงการเชิญชวนให้เกษตรกรนำหลักฐานเกี่ยวกับแปลงที่ดิน
ของตนเอง เข้ามาให้ข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์จากแบบสอบถาม และชี้แปลงที่ดินบนแผนที่ภาพถายที่ได้
่
เตรียมมาจากสำนักงาน เพอใช้เป็นข้อมูลวิเคราะห์เชิงพนที่เสนอกรมฯ และหน่วยงานต่าง ๆ สำหรับ
ื่
ื้
รูปแบบการเก็บข้อมูลในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ั
ได้ขอความอนุเคราะห์สถานีพฒนาที่ดินขอนแก่นและผู้นำชุมชน ในการประสานงาน
ส่งแบบสอบถามทั้งแบบกระดาษและแบบออนไลน์ (E-Questionnaire) ซึ่งทำให้สามารถปฏิบัติงาน
ได้อย่างต่อเนื่อง
จากการคำนวณด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ พนที่ลุ่มน้ำห้วยขามเรียน จังหวัดขอนแก่น
ื้
ื้
มีเนื้อที่ 87,436 ไร่ ครอบคลุมพนที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอโนนศิลา อำเภอชนบท อำเภอพล และ
อำเภอบ้านไผ่ เป็นพนที่ทางการเกษตร ร้อยละ 88.23 และเป็นพนที่นอกการเกษตร (ที่อยู่อาศัย สถานที่
ื้
ื้
ราชการ โรงเรียน วัด ที่สาธารณะประโยชน์) ร้อยละ 11.77 จากกลุ่มตัวอย่างที่ได้จากการสำรวจ มีเกษตรกร
เป็นเจ้าของที่ดิน ร้อยละ 75.48 ญาติ/เข้าทำเปล่า ร้อยละ 23.08 และเช่า ร้อยละ 1.44 โดยหลักฐาน
ล
การถือครองที่ดินมากที่สุด 3 ลำดับ เป็นเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดิน ร้อย ะ 92.64
ส.ป.ก.4-01 ร้อยละ 5.03 และน.ส. 3 ก. ร้อยละ 2.33 สำหรับขนาดของสัดส่วนแปลงที่ดินส่วนใหญ่
อยู่ในช่วง 1 - 5 ไร่ ร้อยละ 38.13 รองลงมาแปลงที่ดินมีขนาด 5- 10 ไร่ ร้อยละ 31.13 และ
แปลงที่ดินที่มีขนาด 10 - 20 ไร่ ร้อยละ 17.51
ั
ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน (ระดับ 3 ของกรมพฒนาที่ดิน) พบว่า เกษตรกรทำนามากที่สุด ร้อยละ
ื่
93.11 รองลงมา คือ ไร่นาสวนผสม ร้อยละ 2.45 ด้านการใช้แหล่งน้ำเพอการเกษตร เกษตรกรใช้แหล่งน้ำ
จากฝนอย่างเดียว ร้อยละ 89.30 ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อผลผลิตมากทสุด ๒ อันดับแรก ได้แก ภัยแล้ง
ี่
่
ร้อยละ 81.01 รองลงมาเป็นราคาผลผลิตต่ำ ร้อยละ 64.86 ปัญหาด้านดินที่พบในพื้นที่มากที่สุด 3 อันดับแรก
ุ
ได้แก ปัญหาดินเหนียว ร้อยละ 33.62 รองลงมาเป็นปัญหาดินขาดความอดมสมบูรณ์ ร้อยละ 31.29
่
และดินทราย ร้อยละ 19.75 ตามลำดับ การใช้ปุ๋ย พบว่า เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยเคมี/ปุ๋ยอินทรีย์ มากที่สุด
ร้อยละ 46.09 รองลงมา คือ ปุ๋ยเคมี ร้อยละ 40.72 ปุ๋ยอนทรีย์ ร้อยละ 8.84 และไม่ใช้ปุ๋ย ร้อยละ
ิ
ื
ื
ื
4.35 การใช้สารเคมี พบว่า เกษตรกรมีการใช้สารเคมีปราบโรคพช ศัตรูพชและวัชพช ร้อยละ 23.59
ื
ื
และไม่ใช้สารเคมีปราบโรคพชศัตรูพชและวัชพช ร้อยละ 76.41 การเข้าร่วมบัตรดินดี พบว่า เกษตรกร
ื
ั
ั
เข้าร่วมกิจกรรมบัตรดินดี ร้อยละ 9.22 ด้านการรับบริการปัจจัยการผลิตจากกรมพฒนาที่ดิน 3 อนดับแรก
ื
ได้แก่ เมล็ดพนธุ์พชปุ๋ยสด ร้อยละ 21.65 รองลงมาเป็นผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ พ.ด.ร้อยละ 16.28
ั