Page 104 - (ทดสอบ) สำมะโนที่ดิน
P. 104
3
4
บทท 2
ี่
ั่
ข้อมูลทวไป
2.1 ลักษณะที่ตั้งอำณำเขต
พื้นที่ด าเนินงานโครงการส ารวจจัดท าส ามะโนที่ดินเพอการพฒนาที่ดิน ในแผนการใช้ที่ดินระดับต าบล
ั
ื่
ต าบลห้วยยาง อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ 41,203 ไร่ ประกอบด้วย 12 หมู่บ้าน
มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดเขตต าบลขุนทอง อ าเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
ทิศใต้ ติดเขตต าบลหนองบัวสะอาด และต าบลหนองแจ้งใหญ่ อ าเภอบัวใหญ่
จังหวัดนครราชสีมา
ทิศตะวันออก ติดเขตต าบลด่านช้าง อ าเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
ทิศตะวันตก ติดเขตต าบลบึงพะไล อ าเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา
ดังแสดงในรูปที่ 2.1
๒.๒ ลักษณะภูมิประเทศ
ื้
ื้
สภาพพนที่ทั่วไปของต าบลห้วยยางมีสภาพทั่วไปของพนที่เป็นที่ราบลุ่ม มีล าห้วย คลอง และ
สระน้ ากระจายตามพื้นที่ จึงเหมาะแก่การท าการเกษตร ร้อยละ 70 มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทราย จึงไม่
สามารถเก็บกักน้ าได้ พื้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่จะปลูกข้าว อ้อย มันส าปะหลัง ตามล าดับ
๒.๓ ลักษณะภูมิอำกำศ
ื้
สภาพอากาศทั่วไปของเขตพนที่ต าบลห้วยยางมีความคล้ายคลึงภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่างโดยทั่วไปจ าแนกได้ดังนี้
ฤดูร้อน เริ่มต้นระหว่างเดือนกุมภาพนธ์ - เมษายน อากาศร้อนจัดและแล้งจัดติดต่อเป็นระยะ
ั
เวลานานความชื้นในอากาศมีน้อย และมีพายุฤดูร้อนเป็นบางช่วงที่มีคลื่นความร้อนปกคลุม อณหภูมิ
ุ
สูงสุดประมาณ 35 - 40 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน เริ่มต้นระหว่างเดือนพฤษภาคม - ตุลาคม อากาศร้อนและมีพายุลมฝนฟาคะนองลมแรง
้
กว่าปีที่แล้วและมภาวะฝนทิ้งช่วงในบางช่วง
ี
ฤดูหนำว เริ่มต้นระหว่างเดือนพฤศจิกายน - มกราคม อุณหภูมิต่ าสุดประมาณ 15 องศาเซลเซียส
2.4 เส้นทำงคมนำคม
เส้นทางคมนาคมมีทางหลวงแผ่นดิน เชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ด าเนินงานกับที่ว่าการอาเภอบัวใหญ่
ระยะทางประมาณ 23 กิโลเมตร นอกจากนั้นยังมี การคมนาคมของต าบลห้วยยาง มีเส้นทางที่สามารถ
เข้ามาสู่ตัวต าบลได้ 2 เส้นทางหลัก ดังนี้ ถนนทางหลวงสายโคกสี-ตะโก และถนนภายในต าบล โดยมีถนน
คสล. จ านวน ๓๐ สาย สภาพใช้งานได้ดี ถนนลูกรังในหมู่บ้าน จ านวน 2๕ สาย สภาพใช้งานได้ดี
แต่จะล าบากในฤดูฝน ถนนดินเชื่อมระหว่างหมู่บ้านและต าบลใกล้เคียง จ านวน 1๒ สาย สภาพใช้งานได้ดี