Page 6 - ชุดที่ 5 เซลล์ไฟฟ้าเคมี ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์)
P. 6

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาเคมี เรื่อง ไฟฟ้าเคมี ชุดที่ 5 เซลล์ไฟฟ้าเคมี (ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์)






                                                 สาระส าคัญ




                 ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ เป็นค่าความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้าเมื่อน าครึ่งเซลล์ 2 ครึ่งเซลล์

                 มาต่อกันเป็นเซลล์กัลวานิก ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์สามารถวัดได้โดยใช้โวลต์มิเตอร์

                                                         o
                 ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ (E ) เป็นค่าทแสดงความสามารถในการรับ
                                                                    ี่
                                                                                                ี่
                 อิเล็กตรอนของธาตุหรือไอออน เมื่อเปรียบเทียบกับกับครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐานทมี
                      o
                                     o
                                         ี่
                 ค่า E เป็นศูนย์ ค่า E ทมีเครื่องหมายเป็นบวก แสดงว่า ธาตุหรือไอออนในครึ่งเซลล์
                 นั้นมีความสามารถในการรับอิเล็กตรอนสูงกว่า H ในครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน ถ้า
                                                               +
                      o
                 ค่า E มีเครื่องหมายเป็นลบ แสดงว่า ธาตุหรือไอออนในครึ่งเซลล์นั้นมีความสามารถใน
                                          +
                 การรับอิเล็กตรอนต่ ากว่า H ในครึ่งเซลล์ไฮโดรเจนมาตรฐาน
                 ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์ค านวณได้จากค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของครึ่งเซลล์ ถ้า

                 ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นบวก แสดงว่าปฏิกิริยารีดอกซ์เกิดขึ้นได้เอง ซึ่งทาให้เกิด

                 กระแสไฟฟ้าเรียกเซลล์ชนิดนี้ว่าเซลล์กัลวานิก แต่ถ้าค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เป็นลบ
                 แสดงว่าปฏิกิริยารีดอกซ์ไม่สามารถเกิดได้เอง ต้องมีการให้กระแสไฟฟ้าจึงจะ

                                                               ิ
                 เกิดปฏิกิริยาได้เซลล์ชนิดนี้จัดเป็นเซลล์อิเล็กโทรลติก









                                             มาตรฐานการเรียนรู้



             สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
                    ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิด

             สารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์

             สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และน าความรู้ไปใช้ประโยชน์














                                                                         E l e c t r o c h e m i s t r y  5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11