Page 38 - ชุดที่ 4 เซลล์ไฟฟ้าเคมี (เซลล์กัลวานิก)
P. 38

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาเคมี เรื่อง ไฟฟ้าเคมี ชุดที่ 4 เซลล์ไฟฟ้าเคมี (เซลล์กัลวานิก)





















                                                          ขั้วโลหะที่เข็มของ     ความต่างศักย (V)
                        ครึ่งเซลล์ที่น ามาต่อกัน
                                                        โวลต์มิเตอรเบนเขาหา        (ค่าประมาณ)

               Cu | Cu  2+ (aq)  กับ    Zn | Zn 2+ (aq)          Cu                    1.1
                  (s)
                                        (s)
               Zn | Zn   2+ (aq) กับ  Mg | Mg  2+ (aq)           Zn                    1.6
                                        (s)
                  (s)
               Cu | Cu   2+ (aq)  กับ  Fe | Fe 2+ (aq)           Cu                    0.78
                  (s)
                                        (s)
               Zn | Zn   2+ (aq)  กับ  Fe | Fe 2+ (aq)           Fe                    0.32
                  (s)
                                        (s)
               Fe | Fe  2+ (aq)  กับ  Mg | Mg  2+ (aq)           Fe                    1.98
                                        (s)
                  (s)




                    เมื่อสร้างเซลล์ไฟฟ้า โดยใช้ 2 ครึ่งเซลล์ จะทราบได้ว่ามีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน โดย

             พิจารณาจากเข็มของโวลต์มิเตอร์เบนไปจากขีดศูนย์แสดงว่าเกิดการถ่ายโอนอิเล็กตรอนและมี
             กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้น โดยครึ่งเซลล์ทเข็มโวลต์มิเตอร์เบนเข้าจะเกิดปฏิกิริยารีดักชัน และครึ่ง
                                               ี่
                   ี่
             เซลล์ทเข็มโวลต์มิเตอร์เบนออกจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน  เช่น เข็มของโวลต์มิเตอร์เบนเข้า

                                                                                   2+
             หาโลหะ Cu และเบนออกจากโลหะ Zn แสดงว่าโลหะ Zn ให้อิเล็กตรอนแก่ Cu ในสารละลายทา
                                                                                                 ี่
             ให้โลหะ Zn กร่อนไป และ Cu ในสารละลายจะรับอิเล็กตรอนเกิดเป็นโลหะ Cu เกาะทขั้ว
                                          2+
             Cu โดยในการทดลองจะมีสะพานเกลือท าหน้าที่รักษาสมดุลระหว่างไอออนไว้





                    ความสามารถในการรับอิเล็กตรอน (ความสามารถในการเป็นตัวออกซิไดส์) เป็นดังนี้

             Cu 2+ (aq) > Fe 2+ (aq)  > Zn 2+ (aq)  > Mg 2+ (aq)  และความสามารถในในการให้อิเล็กตรอนหรือ

             ความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์ เป็นดังนี้ Mg > Zn > Fe > Cu









                                                                         E l e c t r o c h e m i s t r y  37
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43