Page 1 - บทที่13
P. 1

บทที่ 13


                                                        ไฟฟ้าสถิต


               13.1 ปรากฏการณ์ธรรมชาติของไฟฟ้า

                                                                                      ้
                       ในชีวิตประจ ำวันเรำได้พบเห็นปรำกฏกำรณ์ทำงธรรมชำติของไฟฟำ เช่น ฟำแลบ ฟำผ่ำ และได้ยิน
                                                                               ้
                                                                                             ้
                     ้
               เสียงฟำร้องกันบ่อยๆ ในยุคโบรำณมนุษย์เรำเชื่อว่ำเกิดจำดอำนำจของเทพเจ้ำ ส ำหรับคนไทยนั้นเชื่อว่ำ เกิด

               จำกนำงเมขลำล่อแก้ว แล้วรำมสูรขว้ำงขวำนใส่ ภำยหลังเมื่อมนุษย์มีควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์มำกขึ้นจึงทรำบ
               ว่ำปรำกฏกำรณ์ฟ้ำแลบ ฟ้ำผ่ำ เกิดจำกกำรถ่ำยโอนประจุไฟฟ้ำในบรรยำกำศ


                                                                                 ั
                       ในสมัยก่อน นักปรำชญ์ชำวกรีกชื่อ ทำลีส สังเกตเห็นว่ำเมื่อน ำอำพน (amber) มำถูกกับขนสัตว์
               อำพนจะสำมำรถดึงดูดของเบำๆ เช่น ฟำง ขนนกได้ แสดงให้เห็นว่ำมีแรงกระท ำต่อกระดำษหรือขนนกนั้น
                   ั

               ต่อมำจึงทรำบว่ำแรงนั้นคือ แรงระหว่ำงประจุ (force between electric charge) นั้นเอง เรำยังสำมำรถพบ

                                             ้
               เห็นปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติของไฟฟำได้อกมำกมำย เช่น ในฤดูหนำว และมีอำกำศแห้ง เวลำที่เรำหวีพบแล้ว
                                                  ี
               เมื่อน ำหวีมำใกล้กระดำษชิ้นเล็กๆ จะพบว่ำหวีสำมำรถดึงดูดกระดำษได้ , เมื่อจับลูกบิดประตูจะมีควำมรู้สึกว่ำ

               ถูกไฟช๊อต หรือมีประกำยไฟเกิดขึ้น

               13.2 ประจุไฟฟ้า

                                                                                          ู
                       จำกปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติของไฟฟ้ำที่กล่ำวไว้ข้ำงต้น เมื่อน ำอ ำพัน (amber) มำถกกับขนสัตว์ อ ำพน
                                                                                                        ั
               จะสำมำรถดึงดูดของเบำๆ เช่น ฟำง ขนนกได้ แสดงให้เห็นว่ำมีแรงกระท ำต่อกระดำษหรือขนนก เรียกแรงนี้ว่ำ

               แรงระหวางประจุไฟฟ้า (force between electric charge) มีสองชนิดคือ แรงดดึงดูด (attractive
                        ่
               force) และ แรงผลัก (repulsive force) ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้เป็นผลมำจำก ประจุไฟฟำ (electric charge)
                                                                                        ้
               ประจุไฟฟ้ำมีสองชนิด ได้แก่ ประจุไฟฟ้าบวก (positive electric charge) และประจุไฟฟ้าลบ (negative

               electric charge) โดยใช้เครื่องหมำย + และ – แสดงชนิดของประจุบนวัตถุตำมล ำดับ ต่อมำเรำทรำบว่ำ

               ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน ประจุต่ำงชนิดกันดึงดูดกัน

                       เบนจำมิน แฟรงกลิน นักวิทยำศำสตร์ชำวอเมริกำเป็นบุคคลแรกที่จ ำแนกชนิดของประจุไฟฟำเป็น
                                                                                                     ้
               ประจุบวกและประจุลบ

                       วัตถุประกอบด้วยอะตอมจ ำนวนมำก และแต่ละอะตอมมีนิวเคลียสซึ่งประกอบด้วยอนุภำคที่มีประจุ


                                                                    ้
               บวก เรียกว่ำ โปรตอน (proton) อนุภำคที่เป็นกลำงทำงไฟฟำ เรียกว่ำ นิวตรอน (neutron) และบริเวณ
                                                      ิ
               นอกนิวเคลียสมีอนุภำคที่มีประจุลบ เรียกว่ำ อเล็กตรอน (electron) อะตอมที่มีจ ำนวนโปรตอนและจ ำนวน

               อเล็กตรอนเท่ำกันจะอยู่ในสภำพเป็นกลำงทำงไฟฟำ ส่วนวัตถุที่มีจ ำนวนอนุภำคทั้งสองไม่เท่ำกันจะอยู่ใน
                                                           ้
                 ิ
   1   2   3   4   5   6