Page 15 - E-book สื่อนวัตกรรมเรื่องโน้ตดนตรีหรรษา อัจฉรา โพธิ์ใบ
P. 15

11
      กำรเพิ่มอัตรำจังหวะตัว








      โน้ตและตัวหยุด













               โดยปกติอัตราจังหวะของตัวโน้ตมีค่าผันแปรตาม


        เครื่องหมายก าหนดจังหวะดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ด้วยขีดจ ากัด


        ของอัตราจังหวะที่ถูกก าหนดโดยเครื่องหมายก าหนดจังหวะ จึง



        ต้องมีวิธีการเพิ่มจังหวะให้กับตัวโน้ตและตัวหยุด เพื่อเพิ่ม


        ความสามารถให้กับตัวโน้ตและตัวหยุด นอกจากนี้ยังเพิ่มสีสัน


        ของท านองเพลงด้วย การเพิ่มอัตราจังหวะมีหลายวิธีดังนี้


              1) การโยงเสียง (Ties)



               การเพิ่มอัตราจังหวะโดยการใช้เสียงโยงเสียงที่มีลักษณะเป็น


        เส้นโค้ง  ใช้กับตัวโน้ตที่มีระดับเสียงเดียวกันเดียวกันเท่านั้น ใช้ได้


        2 กรณี คือ ใช้โยงเสียงตัวโน้ตภายในห้องเดียวกันหรือโยงเสียง


        ต่างห้องก็ได้ มีความหมายคล้ายกับเครื่องหมายบวก (+) การ


        เขียนเส้นโยงเสียงให้เขียนเส้นโยงที่ต าแหน่งหัวตัวโน้ต ส่วนตัว


        หยุดไม่ต้องใช้เครื่องหมายโยงเสียง เช่น
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20