Page 87 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 87

จังหวัดปราจีนบุรีมีทรัพยากรน้้าที่ส้าคัญ  ดังนี้

                         1) น้้าผิวดิน  เป็นแหล่งน้้าในแม่น้้าล้าคลอง  และล้าห้วยต่าง ๆ  ต้นน้้าเกิดจากเทือกบรรทัดและ
                  เขาสอยดาว  ไหลลงมาเกิดแควหนุมานและแควพระปรง  ไหลมารวมกันเป็นต้นแม่น้้าบางปะกงที่อ้าเภอ

                  กบินทร์บุรี  แล้วไหลผ่านอ้าเภอศรีมหาโพธิ  ประจันตคาม  เมือง  บ้านสร้าง  และไหลลงสู่อ่าวไทยที่อ้าเภอบาง
                  ปะกง  จังหวัดฉะเชิงเทรา

                         2) น้้าใต้ดิน  เป็นน้้าที่ไหลซึมผ่านชั้นดินลงไปกักเก็บอยู่ใต้ผิวดิน  คุณภาพน้้าใต้ดินของจังหวัด
                  ปราจีนบุรีส่วนใหญ่มีคุณภาพดี  แต่บางพื้นที่เป็นน้้ากร่อย  น้้ากระด้าง  และมีตะกอนสนิมเจือปน

                         3) น้้าบาดาล  เป็นน้้าใต้ดินที่เกิดอยู่ในชั้นดินกรวด  ทราย  หรือหินที่อยู่ลึกจากผิวดินตั้งแต่

                  15-30  เมตร  จากข้อมูลของกรมทรัพยากรธรณี  กระทรวงอุตสาหกรรม  พบว่าทรัพยากรน้้าบาดาลมีจ้านวน
                  จ้ากัดเนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่รองรับด้วยหินแข็งที่ระดับความลึกไม่เกิน  30  เมตร  บางส่วนเป็นหินแข็งไม่ให้

                  น้้าบาดาล  หินร่วนที่พาดผ่านส่วนกลางของจังหวัดเป็นหินร่วนประเภทตะกอนหินผุท้าให้กักเก็บน้้าบาดาล

                  ได้น้อย
                         ลักษณะเนื้อดินของจังหวัดปราจีนบุรีแบ่งเป็น  3 กลุ่ม  ดังนี้

                         1) พื้นที่ที่เหมาะส้าหรับปลูกพืชไร่  มีฝนตกน้อย  มีพื้นที่ประมาณ 550,251.4 ไร่ หรือร้อยละ  18.47  ของพื้นที่

                  ทั้งหมด  ลักษณะดินเป็นดินลึก  มีการระบายน้้าได้ดีหรือปานกลาง  เป็นเนื้อดินละเอียดปานกลางหรือค่อนข้างเป็น
                  ทราย  มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า  กระจายอยู่ในพื้นที่อ้าเภอกบินทร์บุรี  ประจันตคาม และนาดี

                         2) พื้นที่เหมาะส้าหรับท้านา มีพื้นที่ทั้งหมด 806,182.3 ไร่ หรือร้อยละ 27.1 ของพื้นที่ทั้งหมด มีลักษณะเป็น
                  ดินลึกมีการระบายน้้าไม่ดีเป็นเนื้อดินละเอียดมีความอุดมสมบูรณ์ต่้า กระจายอยู่ในเขตอ้าเภอเมืองและประจันตคาม

                  และอีกส่วนหนึ่งมีลักษณะดินเป็นดินกรดจัดมาก  พบในเขตอ้าเภอบ้านสร้าง  เมือง  ศรีมโหสถ  และประจันตคาม

                         3) พื้นที่ที่ไม่เหมาะส้าหรับการเพาะปลูกพืชทั่ว ๆ ไป มีพื้นที่ 1,620,042.5 ไร่ หรือร้อยละ 54.4  ของพื้นที่
                  ทั้งหมด มีลักษณะดินเป็นดินตื้น มีการระบายที่ดีหรือปานกลาง พบชั้นหินหรือเศษหินในความลึกประมาณ  50  ซ.ม.

                  จากผิวดิน  พบในเขตอ้าเภอกบินทร์บุรี และลักษณะดินตื้นถึงลึก  มีการระบายน้้าดีถึงดีเกินไป พบในเขตที่ลาดชันมาก
                  ในเขตอ้าเภอประจันตคาม นาดี กบินทร์บุรี และเมือง



                  แผนยุทธศาสตร์จังหวัดปราจีนบุรี
                  ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1

                  “บริหารจัดการทรัพยากรน้้าและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม”

                  x  เป้าประสงค์
                          - มีน้้าเพียงพอเพื่อการอุปโภค บริโภค การเกษตร และภาคอุตสาหกรรม

                    x ตัวชี้วัดและเป้าหมาย

                         1. สัดส่วนพื้นที่ป่าของจังหวัด เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5   ต่อปี
                         2. ปริมาณการใช้สารเคมีทางการเกษตรลดลง ร้อยละ 5 ต่อปี

                         3. ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการลุ่มน้้าของจังหวัดอย่างเป็นระบบ ทุกล้าน้้า
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92