Page 95 - แผนยุทธศาสตร์พัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3
P. 95
สินค้าและของฝากที่ส าคัญ
- เครื่องจักรสานหุ้มเซรามิก ข้าวหลามวัฒนานคร ผลิตภัณฑ์จากไม้ ผ้าทอมือหันทราย แตงแคนตาลูป ชมพู่
คลองหาด
สภาพทางเศรษฐกิจ
2.1 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP)
ในปี ๒๕๕๓ จังหวัดสระแก้วมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) จ้านวน 37,989 ล้านบาท อัตราการ
ขยายตัวเท่ากับร้อยละ 4.06 ถือว่าเป็นล้าดับที่ ๖ ของภาคตะวันออก และล้าดับที่ 55 ของประเทศ มีสาขา
การผลิตที่ส้าคัญ คือ สาขาเกษตรกรรม สาขาการขายส่งขายปลีก และสาขาอุตสาหกรรม ตามล้าดับ ประชากร
มีรายได้เฉลี่ยต่อหัว69,091 บาท/ปี คิดเป็นส้าดับที่ 8 ของภาคตะวันออก และเป็นล้าดับที่ 51 ของประเทศ
ตารางที่ 1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคาประจ าปี ปี 2553 - 2556
จังหวัดสระแก้ว พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2556
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 29,835 32,398 33,353 37,989
ณ ราคาประจ้าปี (หน่วย : ล้านบาท)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 10.49 1.54 1.59 4.06
รายได้เฉลี่ย/คน/ปี (บาท) 56,092 60,253 61,340 69,091
โครงสร้างการผลิตของจังหวัดสระแก้ว ปี พ.ศ.2556
- พิจารณาจากมูลค่าเพิ่ม (ร้อยละ)
- เกษตรกรรม มูลค่าเพิ่ม เท่ากับ 11,241 ล้านบาท (30%)
- การขายส่ง ขายปลีก มูลค่าเพิ่ม เท่ากับ 9,702 ล้านบาท(25 %)
- อุตสาหกรรม มูลค่าเพิ่ม เท่ากับ 4,630 ล้านบาท (12%)
- อื่นๆ มูลค่าเพิ่ม เท่ากับ 12,417 ล้านบาท (33%)
โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสระแก้ว ปี2556
2.2 ด้านการเกษตร
จังหวัดสระแก้ว มีพื้นที่ท้าการเกษตรทั้งหมดจ้านวน 2,340,093 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 52 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด
ตารางที่ 2 พื้นที่เพาะปลูก และผลผลิต ของพืชเศรษฐกิจหลัก ปี 2556
พืชเศรษฐกิจ พื้นที่เพาะปลูก (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ย (กก. /ไร่)
ข้าวนาปี 883,562 381,891 440
มันส้าปะหลัง 658,380 2,150,071 4055
อ้อยโรงงาน 277,602 2,354,270 10,812
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 125,910 97,566 809