Page 35 - คู่มือการขับเคลื่อนนวัตกรรม D-Court สู่ Smart Court
P. 35
33
7.3 ความสามารถรองรับการบูรณาการระหว่างระบบ e-Notice และระบบบริการทางอิเล็กทรอนิกส์
ื่
ศาลยุติธรรมอื่น ๆ เช่น ระบบ CIOS ระบบ e-Filing เพอลดช่องทางการเข้าถึงบริการของศาลยุติธรรม
ที่ปัจจุบันมีอยู่อย่างหลากหลาย
8. แนวทางการแก้ไขและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการขับเคลื่อนนวัตกรรม :
8.1 ส านักส่งเสริมงานตุลาการด าเนินการประชาสัมพันธ์การเข้าถึงระบบ e-Notice เพื่อให้ประชาชน
ทราบถึงระบบบริการของศาลยุติธรรมอย่างต่อเนื่องในรูปแบบของ Infographic / Clip VDO
ผ่านช่องทาง Website ส านักงานศาลยุติธรรม หรือ Website ส านักส่งเสริมงานตุลาการ และ
แอพพลิเคชั่นอื่น ๆ เช่น Facebook เพจสื่อศาล หรือ Line บัญชี Inside COJ เป็นต้น
8.2 ส านักส่งเสริมงานตุลาการประสานงานขอความอนุเคราะห์ไปยังส านักเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพอให้เชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลคดีของส านักงานศาลยุติธรรมกับระบบ e-Notice ซึ่งส านักส านัก
ื่
เทคโนโลยีสารสนเทศ จะด าเนินการปรับปรุงให้หลังจากการจัดจ้างพฒนาระบบสารสนเทศส านานคดี
ั
ศาลชั้นต้น ระยะที่ 3 แล้วเสร็จ
8.3 ส านักส่งเสริมงานตุลาการประสานงานขอความอนุเคราะห์ไปยังส านักเทคโนโลยีสารสนเทศ
ื่
เพอด าเนินการปรับปรุงพฒนาโปรแกรมระบบ e-Notice เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2564
ั
ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างด าเนินการ ดังนี้
1) ให้โปรแกรมมีลายน้ าลงบนไฟล์เอกสารประกาศส าหรับลงประชาสัมพนธ์ในระบบ
ั
e-Notice ของศาล
2) ให้โปรแกรมสามารถสืบค้นข้อมูลทางคดีที่ลงประกาศในระบบ e-Notice ได้จาก
ชื่อผู้ตาย ชื่อผู้ร้อง รวมถึงจากหมายเลขทรัพย์ เช่น หมายเลขโฉนดที่ดิน หมายเลขทะเบียนรถ เป็นต้น
3) ให้โปรแกรมสามารถเชื่อมโยงข้อมูลในเมนูหมวดหมู่ข่าว ประเภทค าบังคับ
ค าพิพากษา/ค าสั่ง ค าฟ้อง ค าร้อง ค าร้องขอ หมายนัด/หมายเรียก อื่น ๆ เพื่อให้ประชาชนที่เข้าดูข้อมูล
ประกาศในระบบ e-Notice กรณีที่มีความประสงค์คัดค้านสามารถยื่นค าคัดค้านผ่านระบบ e-Notice
เพอด าเนินการที่เกี่ยวข้องต่อในโปรแกรมระบบบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ศาลยุติธรรมอื่น ๆ
ื่
ของส านักงานศาลยุติธรรมได้ เช่น ระบบ CIOS ระบบ e-Filing เป็นต้น
.............................................