Page 44 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 44

31




                      หากไม่เข้าใจเกี ยวกับการร้องขอตั งผู้จัดการมรดก  ศาลได้จัดนิติกรให้บริการแก่ประชาชน ในการให้

               คําปรึกษาแนะนําเกี ยวกับคดีขอตั งผู้จัดการมรดก  และผู้ร้องไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทําคําร้องขอตั ง


               ผู้จัดการมรดก  เสียเพียงค่าขึ นศาล  ค่าประกาศหนังสือพิมพ์  และค่าคัดถ่ายเอกสารตามจริงเท่านั น


                      ข้อควรรู้ในการขอจัดการมรดก


                   1.  จะขอเป็นผู้จัดการมรดกเมื อใด


                             เมื อเจ้ามรดกตาย  เจ้ามรดกมีทรัพย์มรดกและมีเหตุขัดข้องที ต้องจัดการมรดก


                   2.  ใครเป็นผู้มีสิทธิร้องขอให้ศาลมีคําสั งตั งผู้จัดการมรดก

                             ผู้มีสิทธิร้องขอให้ศาลมีคําสั งตั งผู้จัดการมรดกได้แก่  ทายาทโดยธรรมของเจ้ามรดกที มีสิทธิ


                      รับมรดก  เช่น บุตร  บิดามารดา  คู่สมรสของเจ้ามรดกผู้รับพินัยกรรมของเจ้ามรดก  และ

                      บุคคลภายนอกผู้มีส่วนได้เสียก็ได้   เช่น เจ้าของร่วมในทรัพย์สินของเจ้ามรดก  เช่น กรณีสามีภริยา


                      ไม่จดทะเบียนสมรสและมีทรัพย์สินร่วมกันนั นเอง  สําหรับเจ้าหนี   ไม่ถือว่าเป็นผู้มีส่วนได้เสีย  จึง


                      ไม่อาจขอให้ศาลมีคําสั งตั งผู้จัดการมรดกได้


                   3.  ใครเป็นผู้จัดการมรดกได้

                             ผู้จัดการมรดกไม่จําเป็นต้องเป็นทายาทของเจ้ามรดกจะเป็นใครก็ได้  แต่ผู้มีสิทธิร้องขอต่อ


                      ศาล  ต้องเป็นทายาทหรือผู้มีส่วนได้เสีย  แต่ผู้ที จะเป็นผู้จัดการมรดกจะต้องบรรลุนิติภาวะแล้ว  ไม่

                      เป็นบุคคลวิกลจริตหรือบุคคลซึ งศาลสั งให้เป็นผู้เสมือนไร้ความสามารถ  ไม่เป็นบุคคลที ศาลสั งให้


                      เป็นคนล้มละลาย


                   4.  สถานที ยื นคําร้องขอ

                             ยื นคําร้องที ศาลชั นต้นที เจ้ามรดกมีภูมิลําเนา  เช่น   หากผู้ตายมีภูมิลําเนาอยู่ใน


                      กรุงเทพมหานคร  ก็ให้ยื นที  ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้  ศาลแพ่งธนบุรี  ศาลจังหวัดมีนบุรี
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49