Page 73 - คู่มือติดต่อราชการฯ ภ.2
P. 73
60
ชั นพิจารณาของศาล จําเลยสามารถยื นคําร้องขอปล่อยชั วคราวต่อศาลที พิจารณาคดีนั น
แต่ถ้าอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกา ให้ยื นต่อศาลชั นต้นที พิจารณาคดีนั น
หรือยื นคําร้องขอปล่อยชั วคราวต่อศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาก็ได้
ทั งนี ผู้ต้องหาหรือจําเลยอาจได้รับการปล่อยตัวไปโดยมีหรือไม่มีประกันก็ได้ แต่ไม่ต้อง
วางหลักประกันในคดีความผิดที มีอัตราโทษจําคุกอย่างสูงไม่เกิน 5 ปี
หากผู้ต้องหาหรือจําเลยไม่ได้ถูกจับกุมตัว หรือไม่มีพฤติการณ์ที จะหลบหนี หรือไม่ไป
ข่มขู่หรือสร้างความยุ่งเหยิงให้กับพยาน เมื อจะปล่อยชั วคราวโดยไม่มีประกันเลย ก่อนที จะปล่อยไป
ให้ผู้ต้องหาหรือจําเลยสาบานหรือปฏิญาณตนว่าจะมาตามนัดหรือหมายเรียก
ใครมีสิทธิยื นขอประกันตัวผู้ต้องหาหรือจําเลยบ้าง
1. ผู้ต้องหาหรือจําเลย มีสิทธิขอประกันตนเองได้
2. ผู้มีประโยชน์เกี ยวข้อง เช่น ญาติพี น้อง ผู้บังคับบัญชา นายจ้าง เพื อนฝูง สามี ภรรยา
เพื อนสนิทของผู้ต้องหาหรือจําเลย หรือที เรียกว่า “นายประกัน”
3. นายประกันอาชีพ หมายถึง บุคคลซึ งยื นคําร้องขอปล่อยชั วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลย ด้วย
การวางหลักทรัพย์ของตนเองเป็นหลักประกัน โดยคิดค่าตอบแทนจากการให้ใช้หลักทรัพย์นั น
ซึ งต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ เนื องจากนายประกันอาชีพบางรายประพฤติตน ไม่
เหมาะสม เช่น ใช้เอกสารปลอมในการร้องขอปล่อยชั วคราวหรือเรียกค่าตอบแทนสูงเกิน
สมควร ซึ งก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ผู้ต้องหาหรือจําเลย และส่งผลกระทบต่อความ
น่าเชื อถือของนายประกันอาชีพโดยรวม