Page 69 - คู่มือจัดสวัสดิการ ปี 63
P. 69
กองสวัสดิการศาลยุติธรรม ส านักงานศาลยุติธรรม ๖๗
๔. ข้าราชการศาลยุติธรรมที่ได้รับมอบหมายให้มีหน้าที่เกี่ยวข้องในการดูแลหรือ
บ ารุงรักษาอาคารที่พัก
ผู้พักอาศัย ...
ผู้พักอำศัย
ผู้มีสิทธิพกอาศัยและผู้มีสิทธิพกอาศัยชั่วคราวที่คณะกรรมการอนุญาตให้เข้าอยู่อาศัย
ั
ั
ในอาคารที่พัก
กำรขอสิทธิเข้ำพักอำศัย
ั
๑. ยื่นค าร้องขอใช้สิทธิเข้าพกตามแบบที่คณะกรรมการก าหนดต่อกองสวัสดิการ
ศาลยุติธรรม และเหตุผลความจ าเป็นในการขอเข้าพักอาศัย โดย Download ได้ที่ www.wd.coj.go.th
พร้อมแสดงหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ส าเนาบัตรประจ าตัวข้าราชการพร้อมรับรองส าเนา
ถูกต้อง ส าเนาทะเบียนบ้าน และส าเนาบัญชีแต่งตั้งโยกย้าย (กรณีอยู่ระหว่างโยกย้ายหน่วยงาน)
ิ
๒. คณะกรรมการจะพจารณาค าร้องขอเข้าพักอาศัยตามล าดับ แต่หากในขณะพจารณา
ิ
ค าร้องมีจ านวนผู้ขอใช้สิทธิพักอาศัยมากกว่าจ านวนอาคารที่พักที่มีอยู่จะใช้วิธีจับสลาก
ั
ั
ั
๓. เมื่อได้รับอนุญาตให้เข้าพกและท าสัญญาเข้าพกอาศัยแล้วต้องเข้าพกอาศัยภายใน
๓ เดือน นับแต่วันท าสัญญา หากไม่สามารถเข้าพักได้ต้องยื่นค าร้องขอขยายระยะเวลาต่อคณะกรรมการ
มิฉะนั้นถือว่าสละสิทธิ
ก ำหนดระยะเวลำกำรอยู่อำศัยและสิทธิอำศัย
มีก าหนดระยะเวลา ๓ ปี นับตั้งแต่วันท าสัญญาเข้าพกอาศัย กรณีมีความเดือดร้อน
ั
ื่
และจ าเป็นจะยื่นค าร้องต่อคณะกรรมการเพอขอพกอาศัยต่อได้อีกไม่เกิน ๑ ปี โดยต้องยื่นก่อน
ั
สิ้นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒ เดือน และหากขณะพจารณาค าร้องมีผู้มีสิทธิพกอาศัยน้อยกว่าจ านวน
ั
ิ
ห้องว่างที่มีอยู่ คณะกรรมการอาจพิจารณาให้พักต่อไปได้อีกคราวละไม่เกิน ๖ เดือน
กำรสิ้นสิทธิพักอำศัย
๑. พ้นสภาพการเป็นตุลาการ
๒. ไม่ได้รับราชการในเขตกรุงเทพมหานครหรือปริมณฑล
๓. ถึงแก่กรรม
๔. เสนอค าร้องและพยานหลักฐานอันเป็นเท็จ
ั
ั
๕. ผู้พกอาศัยหรือบริวารมีพฤติการณ์ที่เป็นภัยต่อความสงบเรียบร้อยของผู้พกอาศัย
รายอื่น ๆ หรือก่อความเดือดร้อนร าคาญจนเกินที่ควรคิดหรือคาดหมายได้ว่าจะเป็นไปตามปกติ
ั
๖. ผู้พกอาศัยหรือบริวารเป็นโรคที่สังคมรังเกียจตามการวินิจฉัยของแพทย์และ
คณะกรรมการ มีมติให้สิ้นสิทธิอยู่อาศัยในอาคารที่พัก
๗. ละเลยไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ค าสั่ง หรือค าตักเตือนอันสมควรของคณะกรรมการ
ผู้มีสิทธิ ...