Page 12 - รายงานประจำปี 2564 คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
P. 12
วาระการดำรงตำแหน่ง
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมีวาระการดำรงตำแหน่ง
คราวละ ๔ ปี นับแต่วันประกาศรายชื่อกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิในราชกิจจานุเบกษา
ถ้ากรรมการผู้ทรงคุณวุฒิว่างลง ที่ประชุมใหญ่
ศาลฎีกา ที่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
ที่ประชุมใหญ่ตุลาการพระธรรมนูญในศาลทหารสูงสุด
หรือที่ประชุมร่วมของกรรมการโดยตำแหน่งและ - ไม่เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยงาน
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ แล้วแต่กรณี ต้องดำเนินการ ของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่นหรือ
คัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่างโดยเร็ว ไม่เป็นกรรมการ หรือที่ปรึกษาของหน่วยงานของรัฐ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งได้รับการคัดเลือกใหม่ หรือรัฐวิสาหกิจ
มีวาระอยู่ในตำแหน่ง ๔ ปี นับแต่วันประกาศชื่อ - ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
ในราชกิจจานุเบกษา สมาชิกสภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น กรรมการ หรือ
ในระหว่างที่ยังมิได้คัดเลือกกรรมการ ผู้ดำรงตำแหน่งที่รับผิดชอบในการบริหารพรรคการเมือง
ผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่างลง และยังมีกรรมการ สมาชิกพรรคการเมือง หรือเจ้าหน้าที่ในพรรคการเมือง
เหลืออยู่เกินกึ่งหนึ่ง กรรมการที่เหลือยังคงปฏิบัติหน้าที่ - ไม่เป็นกรรมการ ผู้จัดการ ที่ปรึกษา ลูกจ้าง
ต่อไปได้ แต่ต้องไม่เกิน ๓๐ วัน หรือดำรงตำแหน่งอื่นใด ที่มีลักษณะคล้ายกันในบริษัท
ห้างหุ้นส่วน หรือธุรกิจเอกชนในรูปแบบอื่น
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม
ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติ ผู้ทรงคุณวุฒิ
และไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒินอกจากจะพ้นจาก
- มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ตำแหน่งตามวาระตามมาตรา ๘ แห่งพระราชบัญญัติ
- มีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปีบริบูรณ์ ว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล
พ.ศ. ๒๕๔๒ แล้ว มาตรา ๙ ยังกำหนดให้กรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระ
ด้วยเหตุต่อไปนี้
- ตาย
- ลาออก
- เป็นบุคคลล้มละลาย
- เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือน
ไร้ความสามารถ
- ถูกจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก
- ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
ตามมาตรา ๖
10 ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ ปี ๒ ๕ ๖ ๔
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาล