Page 11 - 1. คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ (แก้)
P. 11
- 11 -
๖) หลักฐานประกอบค าร้องขอรับเงินสินบนของผู้แจ้งความน าจับ ได้แก่ หนังสือรับรอง
จากเจ้าหน้าที่ผู้จับ หนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชาของเจ้าหน้าที่ผู้จับระดับหัวหน้าสถานีหรือเทียบเท่า
ส าเนาบัตรประจ าตัวประชาชนหรือบัตรที่ทางราชการออกให้ พร้อมรับรองส าเนาถูกต้อง และส าเนา
สมุดบัญชีเงินฝากที่ประสงค์จะให้ศาลโอนเงินเข้าบัญชี
หลักฐานประกอบค าร้องขอรับเงินรางวัลของเจ้าหน้าที่ผู้จับ ได้แก่ บันทึกการจับกุมและ
เอกสารที่เกี่ยวข้อง กรณีเจ้าหน้าที่ผู้จับไม่ใช่หัวหน้าชุดในการจับกุม ต้องมีหนังสือรับรองจากผู้บังคับบัญชา
ระดับหัวหน้าสถานีหรือเทียบเท่ามาแสดงด้วย แต่หากเจ้าหน้าที่ผู้จับเป็นหัวหน้าชุดในการจับเองไม่ต้อง
มีหนังสือรับรองดังกล่าว ส าเนาบัตรประจ าตัวประชาชนหรือบัตรที่ทางราชการออกให้ พร้อมรับรอง
21
ส าเนาถูกต้อง และส าเนาสมุดบัญชีเงินฝากที่ประสงค์จะให้ศาลโอนเงินเข้าบัญชี
๗) ตามหนังสือส านักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย ๐๒๙/ว ๑๗๖ (ป) ลงวันที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๒
เรื่อง แนวทางการติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล ส าหรับเจ้าพนักงานต ารวจศาล แจ้งว่า
พระราชบัญญัติเจ้าพนักงานต ารวจศาล พ.ศ. ๒๕๖๒ มาตรา ๕ (๔) ก าหนดให้เจ้าพนักงานต ารวจศาล
มีหน้าที่และอ านาจปฏิบัติตามค าสั่งศาลในการแจ้งให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจจับผู้ต้องหาหรือจ าเลย
ที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลแล้วหนี หรือจะหลบหนี หรือถ้ามีเหตุจ าเป็นที่ไม่สามารถขอความช่วยเหลือ
จากพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจได้ทันท่วงที ก็ให้มีอ านาจจับผู้ต้องหาหรือจ าเลยนั้นได้ และเมื่อจับได้แล้ว
ให้น าผู้ถูกจับไปยังศาลโดยเร็วซึ่งเน้นภารกิจในการอ านวยการและประสานงานในการติดตามจับกุมกับ
พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ การมีเจ้าพนักงานต ารวจศาลจึงช่วยท าให้การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงาน
ฝ่ายปกครองหรือต ารวจมีประสิทธิภาพมากขึ้น จึงไม่ถือว่าขัดต่อเจตนารมณ์ของกีหมายในการก าหนดให้
เจ้าพนักงานต ารวจศาลมีสิทธิได้รับเงินรางวัลในการจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราว อีกทั้งในการปฏิบัติหน้าที่
ให้เจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกีหมายอาญา แม้กีหมายจะใช้การเทียบเคียง
เฉพาะ “หน้าที่และอ านาจ” ระหว่างเจ้าพนักงานต ารวจศาลกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ ไม่ได้เทียบเคียง
“สถานะ” ด้วย แต่เมื่อกีหมายให้อ านาจหน้าที่ในการจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาลแก่
เจ้าพนักงานต ารวจศาล เมื่อใดก็ตามที่เจ้าพนักงานต ารวจศาลใช้อ านาจตามกีหมายในการติดตามจับกุม
ผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล ย่อมท าให้เจ้าพนักงานต ารวจศาลเป็น “พนักงานฝ่ายปกครองหรือต ารวจ
ิ
ตามประมวลกีหมายวิธีพจารณาความอาญาซึ่งจับกุมผู้ต้องหาหรือจ าเลยที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาล
ซึ่งหลบหนี” โดยปริยายและถือเป็น “เจ้าหน้าที่ผู้จับ” โดยเมื่อได้ปฏิบัติหน้าที่ติดตามจับกุมผู้หลบหนี
การปล่อยชั่วคราวโดยศาลและได้ส่งตัวบุคคลดังกล่าวต่อศาลแล้ว ย่อมมีสิทธิขอรับเงินรางวัลได้ตามที่ก าหนด
22
ในกีหมายและระเบียบ
ส าหรับเงินสินบนของผู้แจ้งความน าจับ กรณีเป็นเจ้าพนักงานต ารวจศาล ส านักงานศาลยุติธรรม
เคยมีหนังสือตอบข้อหารือส านักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๙ ว่า ตามพระราชบัญญัติมาตรการก ากับและ
ติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ “ผู้แจ้งความน าจับ” หมายความว่า บุคคลเดียว
หรือหลายคนซึ่งชี้ช่องหรือแจ้งเบาะแสแก่ทางราชการ จนทางราชการสามารถจับกุมผู้ต้องหาหรือจ าเลย
ที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวโดยศาลซึ่งหลบหนีได้ แต่ต้องมิใช่เจ้าหน้าที่ผู้จับ ผู้ประกัน บุคคลซึ่งเป็นหลักประกัน
หรือบุคคลซึ่งเป็นเจ้าของหลักประกันในการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ าเลยนั้น จากบทนิยามดังกล่าว
การเป็นผู้แจ้งความน าจับได้ต้องมีพฤติการณ์ในการชี้ช่องหรือแจ้งเบาะแสแก่ทางราชการ แต่ไม่รวมถึง
21
ระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ 19
22 พระราชบัญญัติมาตรการก ากับและติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓ มาตรา ๗ และระเบียบคณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมฯ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ 18