Page 6 - Q8 -
P. 6

5

                                                          บทที่ ๑

                                                          บททั่วไป


                    ๑.๑ บทบาทอํานาจหนาที่ของอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒


                              ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 13 บัญญัติไววา ใหมีอธิบดีผูพิพากษาภาค ภาคละ
                    หนึ่งคนจํานวนเกาภาค มีสถานที่ตั้งและเขตอํานาจตามที่คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมกําหนดโดย
                    ประกาศในราชกิจจานุเบกษากับใหมีรองอธิบดีผูพิพากษาภาค ภาคละสามคน ในกรณีที่มีความจําเปน

                    เพื่อประโยชนในทางราชการ คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม โดยความเห็นชอบของประธาน
                    ศาลฎีกาจะกําหนดใหมีรองอธิบดีผูพิพากษาภาคมากกวาสามคน แตไมเกินหกคนก็ได
                              อํานาจหนาที่ของอธิบดีผูพิพากษาภาคและรองอธิบดีผูพิพากษาภาค ตามที่บัญญัติไวใน
                    พระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา ๑๔ มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
                              1)  สั่งใหหัวหนาสํานักงานประจําศาลยุติธรรมรายงานเกี่ยวกับคดี หรือรายงานกิจการอื่น

                    ของศาลที่อยูในเขตอํานาจของตน
                              2)  ในกรณีจําเปนจะสั่งใหผูพิพากษาคนใดคนหนึ่งในศาลที่อยูในเขตอํานาจของตนไปชวย
                    ทํางานชั่วคราวมีกําหนดไมเกินสามเดือนในอีกศาลหนึ่งโดยความยินยอมของผูพิพากษานั้นก็ได

                    แลวรายงานไปยังประธานศาลฎีกาทันที
                              นอกจากนี้อธิบดีผูพิพากษาภาคยังทําหนาที่ในฐานะผูพิพากษาผูรับผิดชอบราชการของศาล
                    ซึ่งตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม มาตรา 11 กําหนดใหมีอํานาจหนาที่ ดังนี้
                              1) นั่งพิจารณาและพิพากษาคดีใด ๆ ของศาลนั้นหรือเมื่อไดตรวจสํานวนคดีใดแลวมีอํานาจ

                    ทําความเห็นแยงได
                              2) สั่งคํารองคําขอตาง ๆ ที่ยื่นตอตนตามบทบัญญัติแหงกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความ
                              3) ระมัดระวังการใชระเบียบวิธีการตาง ๆ ที่กําหนดขึ้นโดยกฎหมายหรือโดยประการอื่นให
                    เปนไปโดยถูกตอง เพื่อใหการพิจารณาพิพากษาคดีเสร็จเด็ดขาดไปโดยเร็ว

                              4) ใหคําแนะนําแกผูพิพากษาในศาลนั้นในขอขัดของเนื่องในการปฏิบัติหนาที่ของ
                    ผูพิพากษา
                              5) รวมมือกับเจาพนักงานฝายปกครองในบรรดากิจการอันเกี่ยวกับการจัดวางระเบียบและ
                    การดําเนินงานสวนธุรการของศาล

                              6) ทํารายงานการคดีและกิจการของศาลสงตามระเบียบ
                              7) มีอํานาจหนาที่อื่นตามที่กฎหมายกําหนด
                              คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมไดกําหนดใหอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ มีอํานาจหนาที่
                    รับผิดชอบราชการศาลในสํานักงานอธิบดีผูพิพากษาภาค ๒ และยังมีอํานาจรับผิดชอบ ดูแล

                    ใหคําแนะนําในการบริหารราชการศาล และการพิจารณาคดีแกศาลจังหวัดและศาลแขวงในเขตอํานาจ
                    รวม ๑๓ ศาล ไดแก
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11