Page 117 - รายงานประจำปี 2563
P. 117
ี
การวินิจฉัยช้ขาดในท่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่งให้มีเสียงหน่งในการลงคะแนน
ี
ึ
ึ
ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขาด
�
มาตรา ๑๗ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการให้ทาเป็นหนังสือ ระบุเหตุผลแห่งคาวินิจฉัยและลงลายมือ
�
�
ชื่อกรรมการทุกคนที่วินิจฉัย และบุคคลทั่วไปอาจขอคัดส�าเนาได้ตามวิธีการที่คณะกรรมการก�าหนด
ให้คณะกรรมการมีอ�านาจออกข้อบังคับเกี่ยวกับวิธีการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการ การพิจารณา
ื
และวินิจฉัยของคณะกรรมการ และการอ่นท่จาเป็นเท่าท่ไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติน้โดยประกาศใน
ี
�
ี
ี
ราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๑๘ ให้เลขานุการศาลฎีกาเป็นเลขานุการคณะกรรมการ และให้มีหน้าท่รับผิดชอบ
ี
ด�าเนินการตามที่คณะกรรมการก�าหนด
ั
เพ่อประโยชน์ในการปฏิบัติงานของเลขานุการคณะกรรมการ ให้ประธานกรรมการแต่งต้งข้าราชการ
ื
ตุลาการศาลยุติธรรมตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมจานวนสองคน
�
เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการ 4
มาตรา ๑๙ ให้คณะกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการได้รับประโยชน์ตอบแทนตามท่กาหนด
�
ี
5
ในพระราชกฤษฎีกา
�
ื
มาตรา ๒๐ เม่อศาลปกครองได้เปิดทาการแล้ว ให้ดาเนินการคัดเลือกกรรมการผู้ทรงคุณวุฒ ิ
�
ตามมาตรา ๕ (๒) ภายในหกสิบวันนับแต่วันเปิดท�าการศาลปกครอง
ภายในส่ปีนับแต่พระราชบัญญัติน้ใช้บังคับให้ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดเป็นผู้มีสิทธิท่จะ
ี
ี
ี
ได้รับการคัดเลือกเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๕ (๒) ได้
มาตรา ๒๑ ให้นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลีกภัย
นายกรัฐมนตรี
4 มาตรา ๑๘ วรรคสอง เพ่มโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยช้ขาดอ�านาจหน้าท่ระหว่างศาล (ฉบับท่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔
ี
ิ
ี
ี
5 มาตรา ๑๙ แก้ไขเพ่มเติมโดยพระราชบัญญัติว่าด้วยการวินิจฉัยช้ขาดอ�านาจหน้าท่ระหว่างศาล (ฉบับท่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔
ิ
ี
ี
ี
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล ๑๑๕