Page 5 - รายงานประจำปี 2563
P. 5
สาร
จากประธานกรรมการวินิจฉัยชี้ขาด
อำานาจหน้าที่ระหว่างศาล
ั
นับต้งแต่ปี ๒๕๔๐ เป็นต้นมา ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ระบบศาลในประเทศไทย
�
ี
ี
ได้เปล่ยนแปลงจาก “ระบบศาลเด่ยว” ท่มีศาลยุติธรรมมีเขตอานาจ
ี
พิจารณาพิพากษาคดีท้งปวง เป็น “ระบบศาลคู่” คือ ศาลยุติธรรมและ
ั
ศาลปกครอง ท�าหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีปกครองแยกเป็น
ึ
อิสระจากกัน นอกจากน้ ยังมีศาลทหารซ่งมีอานาจพิจารณาพิพากษา
ี
�
คดีอาญาซึ่งผู้กระท�าผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอ�านาจศาลทหาร ด้วยระบบศาล
ี
ี
ท่ต่างมีอิสระในการพิจารณาพิพากษาคดีตามความเช่ยวชาญเฉพาะด้าน
�
�
ย่อมทาให้เกิดปัญหาการขัดกันเร่องอานาจศาลและปัญหาคาพิพากษา
�
ื
ที่ถึงที่สุดของศาลขัดกันขึ้นได้
รัฐธรรมนูญจึงกาหนดให้มีคณะกรรมการวินิจฉัยช้ขาดอานาจ
�
�
ี
ี
ี
หน้าท่ระหว่างศาล มีหน้าท่ในการพิจารณาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท ่ ี
�
ี
่
ี
่
ั
ี
ี
ุ
ระหว่างศาล ในกรณทมปัญหาเกยวกบหน้าทระหว่างศาลยตธรรม
่
ิ
ี
ี
ศาลปกครอง และศาลทหาร โดยมีประธานศาลฎีกาเป็นประธาน
ประธานศาลปกครองสงสด หวหน้าสานกตลาการทหารและผ้ทรงคณวฒ ิ
ู
�
ั
ุ
ู
ุ
ุ
ั
ุ
อื่นอีกไม่เกินสี่คนตามที่กฎหมายก�าหนด เป็นกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการ
�
�
ี
วินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลได้ดาเนินการพิจารณาวินิจฉัย
ี
�
ช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลมาแล้วจนถึงปัจจุบันได้วางหลักเกณฑ์
ี
ี
การพิจารณาอานาจหน้าท่ศาลยุติธรรม ศาลปกครองและศาลทหารไว้
�
ี
�
�
จานวนมาก ทาให้ประชาชนผู้มีอรรถคดีฟ้องคดีได้อย่างถูกต้องและได้รับ
�
การอานวยความยตธรรมอย่างรวดเรว ลดภาระค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลา
ุ
็
ิ
ในการด�าเนินคดีเป็นอย่างมาก