Page 258 - โครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 258

ก



                                                                   ั
                                                                         ิ
                                                                      
                                                      บทสรปสําหรบผบรหาร
                                                                      ู
                                                            ุ
                                                                                             ี
                                                                                ื
                                                                           ี
                              การดําเนินงานในโครงการสํารวจจัดทําสํามะโนท่ดินเพ่อการพัฒนาท่ดินป งบประมาณ
                                                 ี
                                                                               ื
                                                                                                           ิ
                       พ.ศ. 2564 ในแผนการใชท่ดินระดับตําบล มีวัตถุประสงค เพ่อสํารวจภาวการณถือครองทดน
                                                                                                          ี
                                                                                                          ่
                                                  ึ
                                                              ํ
                                             ี
                                                                                                      ี
                                                                                                      ่
                       ของเกษตรกรอยางละเอยด ซ่งผลของการดาเนินงานทําใหไดขอมูลท่อยูในรูปของแผนทเชิงเลข
                                                                                     ี
                                                                          ี
                                                                                                 ี
                       และสารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวยรายชื่อผูถือครองท่ดิน และการใชประโยชนท่ดินรายแปลง
                                              ี
                                                   ึ
                       ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ ท่เกิดข้นดานการเกษตรท่เกษตรกรไดกระทําในพ้นท่ เชน แหลงน้ําท่ใช
                                                                                                           ี
                                                                                            ี
                                                                                         ื
                                                                    ี
                                                                                    ี
                                                                                                          ั
                       ดานการเกษตร ปญหาในการทํางานดานการเกษตร ขนาดของแปลงท่ดินของเกษตรกร ฯลฯ ท้งนี        ้
                                            ิ
                                           ี
                                                                                    ิ
                                                                                        ่
                                                                                        ื
                                                                                   ี
                                                             ่
                                                             ี
                                                                                   ่
                                 
                       โดยใชฐานขอมลแปลงท่ดนเชิงเลขจากกรมทดิน สํานักงานการปฏิรูปทดนเพอเกษตรกรรม ตลอดจน
                                   ู
                                                                      ี่
                       ขอมูลแผนที่กระดาษ หลักฐานการเสียภาษีของเกษตรกรทองคการบริหารสวนตําบล และหนวยงานอื่น ๆ
                       ที่เกี่ยวของ ที่ถูกรวบรวม และปรับใหอยูในระบบแผนที่เชิงเลข
                                                       ี
                                                                                                         
                                                                                                         ู
                              สําหรับการปฏิบัติงานในพ้นท่ เจาหนาท่จะทําการประสานงานกับผูนําชุมชนในแตละหมบาน
                                                                ี
                                                    ื
                       เพ่อประชาสัมพันธการเขาปฏิบัตงาน รวมถึงการเชิญชวนใหเกษตรกรนําหลักฐานเก่ยวกบแปลงทดน
                                                                                                          ี
                                                   ิ
                                                                                                          ่
                                                                                                  ั
                         ื
                                                                                                           ิ
                                                                                              ี
                                                                                                           ี่
                       ของตนเอง เขามาใหขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณจากแบบสอบถาม และชี้แปลงที่ดินบนแผนที่ภาพถายทได
                                                                                                         
                                             ื
                                             ่
                                                                    ํ
                                                   
                       เตรียมมาจากสํานักงาน เพอเปนขอมลใชวิเคราะหจัดทารูปเลมรายงานเสนอกรมฯ และหนวยงานตาง ๆ
                                                     ู
                       ในพื้นที่ตอไป
                                                              ํ
                                                                                                        
                                                                               ื
                                                                         ํ
                                         ํ
                                                       ี
                                                       ่
                                                     ื
                              ผลของการดาเนินงานในพ้นทตําบลตาบลเหนือ อาเภอเมองกาฬสินธุ จังหวัดกาฬสินธุเนื้อท  ี่
                                                                   ี
                                             ื
                                                        ู
                       18,433 ไร ครอบคลุมพ้นท่ 12 หมบาน มีพ้นท่ทางการเกษตร รอยละ ๘๘.๘๖ และเปนพนท        ี่
                                                ี
                                                                                                          ื้
                                                                ื
                                           ี
                       นอกการเกษตร เชน ท่อยูอาศัย สถานท่ราชการ วัด โรงเรียน เปนตน รอยละ ๑๑.๑๔ มีเกษตรกร
                                                          ี
                                 ่
                                 ี
                                                                                               
                       เปนเจาของทดนทาการเกษตรเอง รอยละ 69.33 ญาต/เขาทาเปลา รอยละ 21.80 และผูเชา รอยละ 7.27
                                                                     
                                   ิ
                                                                  ิ
                                                                       ํ
                                     ํ
                                              ี
                                                                                    ี
                                                                                    ่
                                                                                            ี
                                               ิ
                       โดยหลักฐานการถือครองท่ดนสวนใหญเปนเอกสารสิทธิประเภทโฉนดทดินมากท่สุด รอยละ 9๓.๐๒
                       รองลงมาเปน สปก. ๔-๐๑ รอยละ ๖.๙๘ สําหรับขนาดของสัดสวนแปลงที่ดิน สวนใหญอยูในชวง 1-5 ไร
                       รอยละ 50.87 รองลงมาแปลงทดินมขนาด 5–10 ไร รอยละ 33.14 และแปลงทดนทมขนาด 10-20 ไร
                                                                                         ี
                                                                                           ิ
                                                                                         ่
                                                                                             ี
                                                                                               ี
                                                     ี
                                                 ี่
                                                                                             ่
                       รอยละ 10.17
                              ดานการใชประโยชนท่ดิน (ระดับ 3 ของกรมพัฒนาท่ดิน) พบวา เกษตรกรทํานามากท่สุด
                                                                                                          ี
                                                                             ี
                                                  ี
                                                 ั
                                                                                                            ํ
                       รอยละ 86.05 รองลงมา คือ มนสําปะหลัง รอยละ 9.74 และยางพารา รอยละ 1.74 การใชแหลงน้า
                         ื
                       เพ่อการเกษตร เกษตรกรใชแหลงน้ําจากชลประทานเปนหลัก รอยละ 79.51 ใชน้ําฝนอยางเดียว
                                                                                       ี
                       รอยละ ๒๖.๑๖ และใชจากแหลงน้ําสาธารณะ รอยละ ๕.๐๙ ปญหาท่สงผลกระทบตอผลผลิต
                                                                                                    
                                                             
                                                                                                         
                       ทางการเกษตรของเกษตรกร อันดับแรก ไดแก ราคาผลผลิตตกตา รอยละ 75.73 รองลงมาเปนตนทุน
                                                                             ่
                                                                             ํ
                                                                                                       ี
                                                           ั
                                                               ื
                                                                                      
                       การผลิตสูงรอยละ 68.46 และโรคพืช/ศตรูพช รอยละ ๔๔.๑๙ การใชปุยพบวา เกษตรกรมการใช
                       ปุยเคมี/ปุยอนทรียมากที่สุด รอยละ 49.42 รองลงมา คือ ปุยเคม รอยละ 40.41 ปุยอินทรีย รอยละ 2.33
                                                                           ี
                                 ิ
                       และไม่ใชปุย รอยละ 7.85 การใชสารเคมี พบวา เกษตรกรมีการใชสารเคมีปราบศัตรูพืช รอยละ 70.06
                            
                       และไมใชสารเคมปราบศตรูพืช รอยละ 29.94 ปญหาดานดินทพบในพนทมากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก  
                                     ี
                                           ั
                                                                                    ี่
                                                                           ี่
                                                                                  ื้
                                  ุ
                                                                          ิ
                                                                                                        ิ
                       ดนขาดความอดมสมบูรณ์ รอยละ 55.52 รองลงมาเปนปญหาดนทราย รอยละ 20.78 และปญหาดนเค็ม
                        ิ
                       รอยละ 12.35
   253   254   255   256   257   258   259   260   261   262   263