Page 311 - โครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 311

45


                                                                                                    ิ
                                                                        ี
                                     ฉ) ปญหาดานดินเกษตรกรมีปญหามากท่สุด 3 อันดับแรก ไดแก ปญหาดนทรายจัด
                                                                       ิ
                       จํานวน 724 แปลง (รอยละ 76.18) รองลงมาเปนปญหาดนทราย จํานวน 126 แปลง (รอยละ 13.27)
                       และดินขาดความอุดมสมบูรณ จํานวน 80 แปลง (รอยละ 8.42)
                              5.1.3 ขอมูลการขึ้นทะเบียนเกษตรกร

                                                ี
                              การสอบถามขอมูลเก่ยวกับการเขารวมกิจกรรมของเกษตรกรกบกระทรวงเกษตรและสหกรณ      
                                                                                   ั
                                     
                                ี
                                                                      ี
                                                                                               ิ
                                                                                         
                                                      ิ
                                                        ี
                                                                 ั
                       เกษตรกรมการเขารวมกิจกรรมบัตรดนดของกรมพฒนาท่ดิน พบวา เกษตรกรเขารวมกจกรรมบัตรดินดี
                                                                ิ
                                                          
                                                                           ิ
                       จํานวน 37 แปลง (รอยละ 5.38) และไมเขารวมกจกรรมบัตรดนด จํานวน 651 แปลง (รอยละ 94.62)
                                                                             ี
                                              ่
                                              ี
                       การบริการจากกรมพฒนาทดินพบวาเกษตรกรไดรับการบริการเปนผลิตภัณฑ พ.ด. จํานวน ๑๑๘ แปลง
                                        ั
                                                               
                                                                                       
                       (รอยละ ๑๗.๑๕) รองลงมาปนการไดรับการตรวจสอบคุณภาพดิน จํานวน ๔๒ แปลง (รอยละ๖.๑๐)
                                          
                       และไดรับปูนโดโลไมท/ปูนขาว จํานวน ๒๗ แปลง (รอยละ ๓.๙๒) การประมาณบัญชีจากผลผลิต
                       ทางการเกษตร พบวา เกษตรกรมีขาดทุนจากผลผลิตทางการเกษตร มากท่สุด จํานวน 375 แปลง
                                                                                        ี
                       (รอยละ 54.51) รองลงมา ไดกําไรจากผลผลิตทางการเกษตรจํานวน 165 แปลง (รอยละ 23.98)
                                                 
                                     ่
                       และไมมีรายได เนืองดวยเกบผลผลิตไวบริโภคเอง จํานวน 148 แปลง (รอยละ 21.51) การปลูกไมยืนตน
                                             ็
                                         
                                                                                                       
                                                                                                           
                       ท่มีมูลคาทางเศรษฐกิจของเกษตรกรพบวา มีการปลูกไมยืนตนมีคา จํานวน ๕๖ แปลง (รอยละ๘.๑๔)
                        ี
                       และไมมีการปลูกตนไมยืนตน จํานวน ๖๓๒ แปลง (รอยละ ๙๑.๘๖)
                              5.1.4 การไดรับบริการดานองคความรูวิชาการ
                                                                                                          ่
                                                                                                          ี
                                                                                   ็
                                                       
                                                                                ิ
                                                                                                           ิ
                                       
                                                                      
                              ก) การไดรับบริการความรูวิชาการ การแกไขปญหาดนเคมและการใชประโยชนทดน
                                                                        
                                                                                         ิ
                                                       
                                                         
                       ใหเหมาะสม พบวาเกษตรกรไดรับความรู ขาวสาร ผานผูนํากลุมเกษตรกรและหมอดนอาสา มากทสุด จํานวน
                                               
                                                                                                    ี
                                                                   
                                                                                                    ่
                                                            
                                                                                        ้
                                                         ื
                       183 แปลง (รอยละ 26.60) รองลงมาคอไดรับการอบรม ประชุม ชี้แจง 1 ครังตอป จํานวน 97 (รอย
                                                                                           
                                                                    ี่
                       ละ 14.10) ไดรับคําแนะนํา วางแผนการใชประโยชนทดินรายแปลง จํานวน 79 แปลง (รอยละ 11.48)
                       และไดรับอบรม ประชุม ชี้แจง มากกวา 1 ครั้งตอป จํานวน 77 แปลง (รอยละ 11.19)
                                                 
                                                                                   ี
                                                                                     ิ
                              ข) การไดรับบริการองคความรูและแปลงสาธิตการใชประโยชนพนทดน พบวาเกษตรกรไดรับความรู  
                                     
                                                                                   ่
                                                                                 ื
                                                                                 ้
                                                      
                                                                           ่
                                                                           ี
                            ั
                        ี
                                                       ี
                        ่
                                                               
                       เกยวกบการปรับรูปแบบกระทงนาใหมขนาดใหญมากขน มากทสุด จํานวน 72 แปลง (รอยละ 10.47)
                                                                    ึ
                                                                    ้
                                                                                                        ็
                                                                                          
                       รองลงมาการปรับรูปแบบคนนาใหมีฐานกวางเพอใหสามารถใชประโยชนปลูกตนไมยืนตนทนเคม/พช
                                              ั
                                                               ่
                                                               ื
                                                                                                           ื
                             ิ
                                                                                                  ํ
                       เศรษฐกจ/ยูคาลิปตัส H4 ทนเคม จํานวน 87 (รอยละ 12.65) และการปรับรูปแบบรองน้ารอบกระทง
                                                 ็
                       นาเพื่อระบายน้ําไปเก็บน้ําไวในรองรักษาความชื้น จํานวน 44 แปลง (รอยละ 6.40)
                       5.2   ปญหาและอุปสรรค
                                                                                                        ี
                                                                                                         ํ
                              1. เกษตรกรเจาของพ้นท่หรือผูใชประโยชนในพ้นท่ดําเนินงาน มีภูมิลําเนาอยูนอกพ้นท่ทาให
                                                                       ื
                                                                         ี
                                                 ื
                                                   ี
                                                                                                     ื
                                                                                                          
                                                                                           ึ
                                                                                         ั
                                                                           
                                                                                       
                                                                                         ่
                       ไมมีขอมูลจากการสัมภาษณโดยตรง การประสานงานในกลุมเกษตรกรไมทวถง และบางรายไมให
                       ความสําคัญกับการดําเนินงานของโครงการ
                                                                                                       ี
                              2. ในชวงปฏิบัติงานของเจาหนาท่ เกษตรบางกลุมจะติดภารกิจในการเขาดูแลพืชผลท่ปลูกจึง
                                                           ี
                       ไมสามารถเขามาใหขอมูลได
                                                                                                          ื
                                                                                                          ้
                                                                        ื
                                                                      
                              3. การระบาดของโรค COVID-19 ทําใหการเขาพ้นท่สัมภาษณและชีแปลงเกษตรกรในพนท      ่ ี
                                                                           ี
                                                                                         ้
                       ไมตอเนื่องสม่ําเสมอ สงผลใหการจัดเก็บขอมูลลาชาและบุคลากรมีความเสี่ยงตอการติดโรค
   306   307   308   309   310   311   312   313   314   315   316