Page 361 - โครงการสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดิน
P. 361
20
4.6 การใช้ประโยชน์ที่ดินตามการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินระดับ 3 ของกรมพัฒนาที่ดิน
จากการสัมภาษณ์เกษตรกรที่เข้ามาให้ข้อมูล พบว่า เกษตรกรปลูกลำไยมากที่สุด จำนวน 517 แปลง
คิดเป็นร้อยละ 70.73 ของแปลงที่มาให้ข้อมูล รองลงมา คือ ข้าวโพด จำนวน 107 แปลง ร้อยละ 14.64
นาข้าว จำนวน 49 แปลง ร้อยละ 6.70 นอกจากนั้นยังมีการใช้ประโยชน์ที่ดินอื่น เช่น ปลูกมันสำปะหลัง
จำนวน 19 แปลง ร้อยละ 2.60 ไร่นาสวนผสม จำนวน 7 แปลง ร้อยละ 0.96 พืชสวนครัว จำนวน 6 แปลง
ร้อยละ 0.82 ยางพารา จำนวน 6 แปลง ร้อยละ 0.82 ที่ว่างเปล่า จำนวน 4 แปลง ร้อยละ 0.55
ปลูกมะม่วง จำนวน 4 แปลง ร้อยละ 0.55 ไม้ยืนต้นผสม จำนวน 3 แปลง ร้อยละ 0.41 ปลูกมะขาม
จำนวน 3 แปลง ร้อยละ 0.41 กล้วย จำนวน 2 แปลง ร้อยละ 0.27 เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จำนวน 2 แปลง
ร้อยละ 0.27 ปลูกสัก จำนวน 1 แปลง ร้อยละ 0.14 และปศุสัตว์ จำนวน 1 แปลง ร้อยละ 0.14
ดังแสดงในตารางที่ 4.6 แผนภูมิที่ 4.5 และรูปที่ 4.5
ตารางที่ 4.6 การใช้ประโยชน์ที่ดินตามการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินระดับ 3 ของกรมพัฒนาที่ดิน
ชนิดพืช แปลง เนื้อที่ (ไร่) ร้อยละ (แปลง)
ลำไย 517 2,648 70.73
ข้าวโพด 107 656 14.64
นาข้าว 49 102 6.70
มันสำปะหลัง 19 80 2.60
ไร่นาสวนผสม 7 16 0.96
พืชสวนครัว 6 14 0.82
ยางพารา 6 37 0.86
มะม่วง 4 39 0.55
ไม้ยืนต้นผสม 3 7 0.41
มะขาม 3 30 0.41
กล้วย 2 2 0.27
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2 6 0.27
สัก 1 1 0.14
ปศุสัตว์ 1 2 0.14
พื้นที่ว่างเปล่า 4 13 0.55
รวม 731 3,654 100
* เนื้อที่ได้จากการคำนวณด้วยโปรแกรมภูมิสารสนเทศศาสตร ์