Page 111 - หลักสูตรกลุ่มสาระภาษาไทยบ้านลาน
P. 111
เอกสารประกอบหลักสูตรโรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ 8 0 1
สารได้ ประการที่ห้า ภาษาพูดย่อมใช้ได้ทั้งในป๎จจุบัน อดีต และอนาคต ไม่จํากัดเวลาและสถานที่ ประการ
ที่หก ภาษาเป็นเครื่องมือการถ่ายทอดวัฒนธรรม และวิชาความรู้นานาประการ ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่
แนวคิดในวรรณกรรม
แนวคิดในวรรณกรรมหรือแนวเรื่องในวรรณกรรมเป็นความคิดสําคัญในการผูกเรื่องให้ ดําเนินเรื่องไป
ตามแนวคิด หรือเป็นความคิดที่สอดแทรกในเรื่องใหญ่ แนวคิดย่อมเกี่ยวข้องกับมนุษย์และสังคม เป็นสารที่
่
ผู้เขียนส่งให้ผู้อาน เช่น ความดีย่อมชนะความชั่ว ทําดีได้ดีทําชั่วได้ชั่ว ความยุติธรรมทําให้โลกสันติสุข
้
คนเราพนความตายไปไม่ได้ เป็นต้น ฉะนั้นแนวคิดเป็นสารที่ผู้เขียนต้องการส่งให้ผู้อนทราบ เช่น ความดี
ื่
ความยุติธรรม ความรัก เป็นต้น
บริบท
่
่
บริบทเป็นคําที่แวดล้อมข้อความที่อาน ผู้อานจะใช้ความรู้สึกและประสบการณ์มากําหนดความหมาย
ื่
หรือความเข้าใจ โดยนําคําแวดล้อมมาช่วยประกอบความรู้และประสบการณ์ เพอทํา ความเข้าใจหรือ
ความหมายของคํา
พลังของภาษา
ภาษาเป็นเครื่องมือในการดํารงชีวิตของมนุษย์ มนุษย์จึงสามารถเรียนรู้ภาษาเพอการดํารงชีวิต เป็น
ื่
ั
เครื่องมือของการสื่อสารและสามารถพฒนาภาษาของตนได้ ภาษาช่วยให้คนรู้จักคิดและแสดงออกของ
ความคิดด้วยการพูด การเขยน และการกระทําซึ่งเป็นผลจากการคิด ถ้าไม่มีภาษา คนจะคิดไม่ได้ ถ้าคน
ี
มีภาษาน้อย มีคําศัพท์น้อย ความคิดของคนก็จะแคบไม่กว้างไกล คนที่ใช้ภาษาได้ดีจะมีความคิดดีด้วย คน
จะใช้ความคิดและแสดงออกทางความคิดเป็นภาษา ซึ่งส่งผลไปสู่ การกระทํา ผลของการกระทําส่งผลไปสู่
ความคิด ซึ่งเป็นพลังของภาษา ภาษาจึงมีบทบาทสําคัญต่อมนุษย์ ช่วยให้มนุษย์พัฒนาความคิด ช่วยดํารง
สังคมให้มนุษย์อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข มีไมตรีต่อกัน ช่วยเหลือกันด้วยการใช้ภาษาติดต่อสื่อสารกัน
ช่วยให้คนปฏิบัติตนตามกฎเกณฑ์ของสังคม ภาษาช่วยให้มนุษย์เกิดการพฒนา ใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยน
ั
ความคิดเห็น การอภิปรายโต้แย้ง เพอนําไปสู่ผลสรุป มนุษย์ใช้ภาษาในการเรียนรู้ จดบันทึกความรู้ แสวงหา
ื่
ความรู้ และช่วยจรรโลงใจ ด้วยการอ่านบทกลอน ร้องเพลง ภาษายังมีพลังในตัวของมันเอง เพราะภาพย่อม
ประกอบด้วยเสียงและความหมาย การใช้ภาษาใช้ถ้อยคําทําให้เกิดความรู้สึกต่อผู้รับสาร ให้เกิดความจงเกลียด
จงชังหรือเกิด ความชื่นชอบ ความรักย่อมเกิดจากภาษาทั้งสิ้น ที่นําไปสู่ผลสรุปที่มีประสิทธิภาพ
ภาษาถิ่น
ื้
ู
ภาษาถิ่นเป็นภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใช้ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมของชาวพนบ้านที่ใช้พดจากัน
ในหมู่เหล่าของตน บางครั้งจะใช้คําที่มีความหมายต่างกันไปเฉพาะถิ่น บางครั้งคําที่ใช้พดจากันเป็นคําเดียว
ู
ความหมายต่างกันแล้วยังใช้สําเนียงที่ต่างกัน จึงมีคํากล่าวที่ว่า “สําเนียง บอกภาษา” สําเนียงจะบอกว่าเป็น
ภาษาอะไร และผู้พดเป็นคนถิ่นใด อย่างไรก็ตามภาษาถิ่นในประเทศไทยไม่ว่าจะเป็นภาษาถิ่นเหนือ ถิ่น
ู
อีสาน ถิ่นใต้ สามารถสื่อสารเข้าใจกันได้ เพียงแต่สําเนียงแตกต่างกันไปเท่านั้น
ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐานหรือบางทีเรียกว่า ภาษาไทยกลางหรือภาษาราชการ เป็นภาษาที่ใช้ สื่อสารกัน
ื่
ทั่วประเทศและเป็นภาษาที่ใช้ในการเรียนการสอน เพอให้คนไทยสามารถใช้ภาษาราชการ ในการติดต่อสื่อสาร
สร้างความเป็นชาติไทย ภาษาไทยมาตรฐานก็คือภาษาที่ใช้กันในเมืองหลวง ที่ใช้ติดต่อกันทั้งประเทศ มีคําและ
สําเนียงภาษาที่เป็นมาตรฐาน ต้องพดให้ชัดถ้อยชัดคําได้ตามมาตรฐานของภาษาไทย ภาษากลางหรือ
ู
น
บ
่
ี
หลักสูตรกลมสาระการเรียนรู โรงเรย า ้ น า ล น
ุ
้