Page 219 - Liver Diseases in Children
P. 219

โรคภูมิต้านทานต่อตับตนเอง  209




              pthaigastro.org
                    ั
                                   ่
              ่
                ้
                                            ิ
             ทอน�าดี ยงไม่ทราบสาเหตุทีกระตุนใหเกดกระบวนการ  พันธุกรรมที่มีแนวโน้มเป็นโรค
                                       ้
                                          ้
              ี
              ้
             น  มีหลักฐานสนับสนุนบทบาทของปัจจัยทาง         อำกำรทำงคลินิก    1
             พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมต่อพยาธิก�าเนิดของโรค
                                                           โรค AIH
                                   1,2
             ปัจจัยทางพันธุกรรม
                                                                โรค  AIH  แบ่งเป็น  2  ชนิดตามชนิดของ
                  ยีนที่ท�าให้มีโอกาสเกิดโรค AIH ได้ เช่น ยีน   autoantibodies  คือ ชนิดที่ 1 มี anti-nuclear antibody
             human leukocyte antigen (HLA) DRB1*03,        (ANA) และ/หรือ anti-smooth muscle antibody
                                           ู
                                       ึ
                                       ่
                                               ุ
             DRB1*0301, DRB1*0701 ซงอย่ในกล่ม major  (SMA) เป็นบวก และชนิดที่ 2 มี anti-liver/kidney
             histocompatibility complex (MHC) class II ท�า  microsomal  type  1  (anti-LKM1)  และ/หรือ

                  ี
                   �
             หน้าท่นาเสนอแอนติเจนต่อ CD4 T cells และ       anti-liver cytosol type 1 (anti-LC-1) เป็นบวก
                      ิ
                 ้
             กระตุนให้เกดการอักเสบตามมา โดยผู้ป่วยที่เป็น AIH  โดยชนิดที่ 1 พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนชนิด
             ชนิดที่ 1 มีความสัมพันธ์กับการมี HLA-DRB1*03  ที่ 2 พบในเด็กเป็นส่วนใหญ่ AIH 2 ชนิดนี้มีความ
             และ DRB1*1301 ส่วนผู้ป่วยที่เป็น AIH ชนิดที่ 2  รุนแรงของโรคและผลการรักษาไม่แตกต่างกัน
                                                                                            ี
             มีความสัมพันธ์กับการมี  HLA-DRB1*0301,  ลักษณะทางคลินิกของ AIH 2 ชนิดน้ดังแสดงใน
             DRB1*0701 และ DRB1*15 นอกจากนี้ยังพบว่า  ตารางที่ 11.1
             ผู้ป่วยที่มี DRB1*0701 จะมีการด�าเนินโรคที่รุนแรง     ผู้ป่วยโรค AIH มีอาการทางคลินิกหลากหลาย
             และผู้ท่มี homozygous HLA DR3 มีโอกาสเป็นโรค  ไม่จ�าเพาะเจาะจง บางรายมีอาการของตับอักเสบ
                   ี
                                         ึ
                                           4
             ภูมิต้านทานต่อตับตนเองเพ่มข้น   ยีนอื่นที่อาจ  เฉียบพลัน ได้แก่ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน เบื่อ
                                      ิ
             เกี่ยวข้องกับโรค AIH ได้แก่ ยีนใน HLA class III  อาหาร ปวดท้องก่อนจะมีอาการตัวเหลือง ปัสสาวะ
             ซึ่งท�าหน้าที่สร้าง complement ชนิด C4  และยีน   เหลืองเข้ม และอุจจาระสีซีด บางรายมีอาการของ
             tumor necrosis factor-alpha ผู้ป่วยโรค autoimmune   ตับวายเฉียบพลันโดยอาจมีอาการทางสมอง (hepatic

             polyendocrinopathy-candidiasis-ectodermal     encephalopathy) ประมาณ 2 สัปดาห์ถึง 2 เดือน
             dystrophy (APECED) ซึ่งมีการกลายพันธุ์ของยีน     หลังจากมีอาการทางตับ ผู้ป่วยบางรายเกิดอาการ

             AIRE1 ประมาณร้อยละ 20 มี AIH ชนิดที่ 2 ร่วม   แบบค่อยเป็นค่อยไป (insidious onset) โดยมีอาการ
                                                                                   �
                                                                                   ้
             ด้วย  ส่วนยีนที่ท�าให้มีโอกาสเกิดโรค ASC ได้ คือ   อ่อนเพลีย ตัวเหลืองกลับเป็นซา (relapsing jaundice)
                5
                                                                                   ้
             HLA-DRB1*1301                                 ปวดศีรษะ  เบื่ออาหาร  และน�าหนักลดเป็นเวลานาน
                                                           ประมาณ 6 เดือนถึง 2 ปีก่อนได้รับการวินิจฉัยโรค
             ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม   2,6                    ผู้ป่วยบางรายอาจไม่มีตัวเหลือง แต่มีอาการของ
                  ไวรัสหรือยาบางชนิดมีความเหมือนทาง        ภาวะตับแข็งและความดันพอร์ทัลสูง  (portal

             โมเลกุล (molecular mimicry) กบเซลล์ตับ อาจ    hypertension) ได้แก่ อาเจียนเป็นเลือดจากหลอด
                                          ั
             ชักน�าให้เกิดปฏิกิริยาอิมมูนท�าให้เกิด AILD ในผู้ที่มี  เลือดด�าขอดในหลอดอาหาร เลือดออกง่าย ท้องร่วง
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224