Page 19 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 2
P. 19

หน่วยการเรียนรู้ที่
๘ ความรูู้้พ้้ืืนฐาน
ด้้านนาฏศิิลป์์ ไทย ตัวชี้วัด
๑. อธิบายการบูรณาการศิลปะแขนงอ่ืนๆ กับการแสดง (ศ ๓.๑ ม.๒/๑)
๒. สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร (ศ ๓.๑ ม.๒/๒)
๓. วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อ่ืน โดยใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครท่ีเหมาะสม (ศ ๓.๑ ม.๒/๓) ๔. เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดง (ศ ๓.๑ ม.๒/๔)
ผังสาระการเรียนรู้
องค์ประกอบ นาฏศิลป์ไทย
หลักและวิธีการสร้างสรรค์การแสดง โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์
การบูรณาการศิลปะ แขนงอื่นๆ กับ การแสดงนาฏศิลป์
ความรู้พื้นฐาน ด้านนาฏศิลป์ไทย
หลักและวิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์
สาระสําาคัญ
๑. นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีความอ่อนช้อย งดงาม เป็นศิลปะที่แสดงถึงความเป็นชาติไทย ซึ่งในการจัดการแสดง นาฏศิลป์ไทยจะต้องมีศิลปะด้านต่างๆ มาเกี่ยวข้องและมีหลักในการสร้างสรรค์การแสดงเพื่อให้การแสดงสวยงาม และ ประทับใจต่อผู้ชม
๒. ในการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดง ผู้วิเคราะห์และวิจารณ์จะต้องมีความรู้เกี่ยวกับการแสดงจะทําาให้วิเคราะห์และวิจารณ์ ได้ถูกต้องและต้องไม่มีอคติต่อการแสดง ใช้ความคิด เหตุผลในการวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อให้การแสดงมีการพัฒนาต่อไป


































































































   17   18   19   20   21