Page 10 - เศรษฐศาสตร์ ม 4-6
P. 10
“เศรษฐศาสตรเ์ ปน็ ศาสตรท์ ศ่ี กึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ยแ์ ละสงั คมในการตดั สนิ ใจเลือกใช้ทรัพยากร ท่ีมีอยู่อย่างจากัด เพื่อนามาใช้ประโยชนใ์ นการผลิตสินค้าและบริการต่าง ๆ อย่างประหยัด หรืออย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุด และหาทางจาหน่ายจ่ายแจกสินค้าและบริการเหล่านั้นไปยังบุคคลในสังคม ให้ได้รับความพอใจสูงสุดหรือมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจสูงสุด”
“เศรษฐศาสตร์” ถือกาเนิดข้ึนมาเพ่ือค้นหาวิธีการในการจัดสรรหรือบริหารจัดการทรัพยากร (Allocation) ที่มีจากัดให้เกิดประโยชน์ คุ้มค่า และสนองความต้องการของมนุษย์ให้ได้มากที่สุด ดังน้ัน เศรษฐศาสตร์จึงเสนอแนวทางออกของปัญหาความขาดแคลนดังกล่าว ตามแผนภาพ ดังนี้
เศรษฐศาสตร์
มนุษย์จาเป็นต้อง
ตัดสินใจเลือก
ทางออกของปัญหาความขาดแคลน
วิธีการบริหารจัดการทรัพยากร
ถือเป็น “หัวใจ” ของเศรษฐศาสตร์ เพราะทุกกิจกรรมของมนุษย์ต้องมีการ “เลือก” และ “แลก” กับส่ิงอื่นมาเสมอ
กลายเป็น “ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ” ในทุกระบบ ว่าจะนาทรัพยากรที่จากัดไปผลิตอะไร (What) ผลิต อย่างไร (How) และผลิตเพ่ือใคร (For Whom)
รัฐบาลต้องเข้ามาช่วยแก้ปัญหาพ้ืนฐานดังกล่าว ด้วยการเลือก “ระบบเศรษฐกิจ”
ระบบเศรษฐกจิ จงึ จา กดั ขนึ้ มาเพอ่ื เปน็ แนวทางหรอื กรอบวิธีในการแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของ ประเทศ
• ในระดับบุคคลทั่วไป : ต้องตัดสินใจเลือกหนทาง ที่คุ้มค่าที่สุดหรือให้ตนเองได้รับความพอใจสูงสุด
• ในระดับผู้ผลิต : ต้องตัดสินใจเลือกว่าจะผลิต อะไร อย่างไร และเพ่ือใคร ให้ตนได้รับกาไรสูงสุด
• ในระดับประเทศ : รัฐบาลต้องตัดสินใจเลือก แนวทางจัดสรรทรัพยากรที่ทาให้ประชาชน ในประเทศได้รับอย่างท่ัวถึงและมีความเป็นธรรม
8 เศรษฐศาสตร์ ม.4-6
แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจกับการจัดสรรทรัพยากร