Page 11 - เศรษฐศาสตร์ ม 4-6
P. 11

ผลจากทรพั ยากรทมี่ จี า กดั ทา ใหม้ นษุ ยไ์ มส่ ามารถเลอื กใชท้ รพั ยากรได้ทงั้ หมด การตดั สนิ ใจเลอื กจงึ จาเป็นต้องเกิดขึ้น และการตัดสินใจเลือกก็จาเป็นต้องเลือกเพียงหนทางเดียวท่ีมีความคุ้มค่าที่สุด หรือ เรียกว่าเกิด “ประสิทธิภาพ” จึงทาให้มนุษย์ต้องเสียทางเลือกอื่น โดยเฉพาะทางเลือกท่ีมีประสิทธิภาพมาก แต่จาเป็นต้องละทิ้งไป ซึ่งในทางเศรษฐศาสตร์จะเรียกว่า “ต้นทุนค่าเสียโอกาส” (Opportunity Cost)
ดังนั้น ทั้งในระดับบุคคลและระดับประเทศจึงจาเป็นต้องคิดหาวิธีการที่จะทาให้ตนเกิดต้นทุน ค่าเสียโอกาสต่าท่ีสุด
หลักการตัดสินใจเลือก ก่อให้เกิด ต้นทุนค่าเสียโอกาส
ประสิทธิภาพทางเทคนิค (Technical Efficiency)
• วธิ ที ใี่ ชป้ จั จยั ผลติ นอ้ ยทสี่ ดุ โดยสามารถให้ผลผลิตเท่ากับ วิธีการอื่น ๆ
ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Efficiency)
• วิธีท่ีใช้ต้นทุนการผลิตต่า ที่สุด เพ่ือให้ได้รับกาไรสูงท่ีสุด
เลือกวิธีการที่มีประสิทธิภาพ
เป็นสัจธรรมของเศรษฐศาสตร์ว่า “ได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง” (Trade-off)
• บุคคลจึงจาเป็นต้องคิดหาวิธีให้เกิดต้นทุน ค่าเสียโอกาสน้อยที่สุด
• รัฐบาลจึงต้องคิดหาระบบเศรษฐกิจที่เข้ามา จัดสรรให้ประชาชนในประเทศเกิด ค่าเสียโอกาสน้อยที่สุด
แผนภาพแสดงหลักการตัดสินใจเลือกและต้นทุนค่าเสียโอกาส
1.2 องค์ประกอบหลักของระบบเศรษฐกิจ ในระบบเศรษฐกจิ หนง่ึ ๆ จะตอ้ งประกอบดว้ ย
ระบบเศรษฐกิจ
หน่วยเศรษฐกิจ
• หน่วยครัวเรือน • หน่วยธุรกิจ
• หน่วยรัฐบาล
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
• บริโภค
• ผลิต
• แลกเปลี่ยน • กระจาย
แผนภาพแสดงองค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจ
1) หน่วยเศรษฐกิจท่ีเป็นภาคเอกชน(PrivateSector)ได้แก่
(1) หน่วยครัวเรือนได้แก่
• ผู้บริโภคสินค้า-บริการท่ีหน่วยธุรกิจผลิตขึ้นโดยมีเป้าหมายเพ่ือแสวงหาความพอใจ
สูงสุด (Maximize satisfaction) จากการบริโภคสินค้า-บริการ ภายใต้งบประมาณท่ีมีจากัด • เจ้าของปัจจัยผลิต ซ่ึงได้แก่
หลักเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการกําาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ 9


































































































   9   10   11   12   13