Page 32 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 1
P. 32
นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง
ลักษณะท่ารําาไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทําาให้ต้องมีศัพท์เฉพาะทางด้านท่ารําา เพื่อส่ือ ความหมายของท่ารําานั้น ๆ ไปในแนวทางเดียว ศัพท์เฉพาะทางนาฏศิลป์เรียกว่า นาฏยศัพท์ ซึ่งเป็น ศัพท์เฉพาะท่ีใช้ในการร่ายรําาตั้งแต่ศีรษะจรดปลายเท้า ในการเรียนรําาไทยหรือนาฏศิลป์ไทยทั้งการ แสดงโขนและละครจะต้องรู้จักกับนาฏยศัพท์ ดังน้ี
๑. นฏยศัพท์ท่ีเก่ียวกับกรใช้เท้
๑.๑ ประเท้า
ประเท้า คือ การใช้จมูกเท้าตบพื้นเบา ๆ แล้วยกขึ้นหนึ่งครั้ง อวัยวะสําาคัญที่ใช้ในการประเท้า คือ จมูกเท้า
จมูกเท้า คือ ส่วนนูนของเท้าที่อยู่ถัดจากหัวแม่เท้าลงมา การใช้จมูกเท้าต้องหักปลายนิ้วเท้า หรือเกร็งปลายนิ้วเท้าให้งอนขึ้น
ประเท้า
ยกเท้า
๑.๒ ยกเท้า
ยกเท้า คือ การยกเท้าขึ้นโดยต้องเกร็งปลายนิ้วเท้าให้ งอนขึ้นและต้องเกร็งข้อเท้าให้ตั้งขึ้น ในการฝึกรําาไทยผู้สอนจะใช้คําาว่า หักข้อเท้า
๑.๓ กระทุ้งเท้า
กระทุ้งเท้า คือ การวางเท้าไว้ด้านหลังในลักษณะตั้งบน จมูกเท้าก่อนใช้จมูกเท้ากระแทกพื้นเบา ๆ
กระทุ้งเท้า
กระดกเท้า
๑.๔ กระดกเท้า
กระดกเท้า คือ การยกเท้าขึ้นด้านหลังในลักษณะ ส่งเข่าไปด้านหลังให้สูงท่ีสุดโดยไม่ต้องเอนตัวไปด้านหน้า ส่ิงสําาคัญ ตอ้ งพยายามดงึ สน้ เทา้ เขา้ หาตวั (ดา้ นหลงั ) ใหม้ ากในลกั ษณะหกั ขอ้ เทา้
106 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑