Page 12 - สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม 2
P. 12

พระพุทธ
๑
ผังสาระการเรียนรู้     ตัวช้ีวัด
การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน และการนับถือพระพุทธศาสนา ของประเทศเพื่อนบ้าน
ความสําาคัญของพระพุทธศาสนา ที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี กับประเทศเพื่อนบ้าน
ความสําาคัญของพระพุทธศาสนา ต่อสังคมไทยในฐานะท่ีเป็นรากฐาน ของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ และมรดกของชาติ
พระพุทธ
สรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
๑. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธ- ศาสนาหรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถอื สู่ประเทศเพื่อนบ้าน
(ส ๑.๑ ม.๒/๑)
๒. วิเคราะห์ความสําาคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ท่ีช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจอันดีกับ ประเทศเพ่ือนบ้าน
(ส ๑.๑ ม.๒/๒)
๓. วิเคราะห์ความสําาคัญของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ท่ีตนนับถือในฐานะที่เป็น รากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติ และมรดกของชาติ
(ส ๑.๑ ม.๒/๓)
๔. อภิปรายความสําาคัญของ
พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือกับการพัฒนา ชุมชนและการจัดระเบียบ สังคม (ส ๑.๑ ม.๒/๔)
๕. วิเคราะห์พุทธประวัติหรือ ประวัติศาสดาของศาสนา ท่ีตนนับถือตามที่กําาหนด (ส ๑.๑ ม.๒/๕)
๖. อธบิ ายคาํา สอนทเ่ี กยี่ วเนอื่ งกบั วันสําาคัญทางศาสนาและ ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
(ส ๑.๒ ม.๒/๔)
หลักธรรมและการปฏิบัติตน ในวันสําาคัญ ทางพระพุทธศาสนา
ความสําาคัญของพระพุทธศาสนา กับการพัฒนาชุมชนและ การจัดระเบียบสังคม
สาระสําาคัญ
พระเจ้าอโศกมหาราชทรงส่งสมณทูตเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิและเจริญรุ่งเรือง สืบเน่ืองต่อมา โดยประเทศไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา สิงคโปร์ เวียดนาม เป็นประเทศที่มีประชากรส่วนใหญ่ นับถือพระพุทธศาสนา ดังน้ัน พระพุทธศาสนาจึงเป็นรากฐานสําาคัญในการดําาเนินชีวิต วัฒนธรรม ตลอดจน ความคิด ความเช่ือของผู้คนในภูมิภาคน้ี
า
ก
ย
ว
่
น
ร
เ
ร
ย
ี
ห
น
ร
ท
ู้
่ี


































































































   10   11   12   13   14