Page 14 - สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม 2
P. 14

๒) การนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาในประเทศเมยี นมา
หลังจากพม่าเป็นอิสระจาก การครอบครองของประเทศอังกฤษ รัฐบาล ไดพ้ ยายามฟนื้ ฟพู ระพทุ ธศาสนาใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื ง มาจนถึงปัจจุบัน โดยมีการสังคายนา พระไตรปิฎกขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ มีการนิมนต์ พระเถระผู้เชี่ยวชาญพระไตรปิฎกจาก ประเทศไทย ศรีลังกา ลาว และกัมพูชา ให้เดินทางมาร่วมงาน และได้จัดพิมพ์ พระไตรปิฎก พร้อมคัมภีร์อรรถกถาและ ป ก ร ณ พ์ เิ ศ ษ เ ป น็ จ าํา น ว น ม า ก ป จั จ บุ นั ป ร ะ ช า ช น ชาวพม่ามีความศรัทธาในพระพุทธศาสนา อยา่ งยงิ่ และมวี ถิ กี ารดาํา เนนิ ชวี ติ แบบชาวพทุ ธ เช่นเดียวกับประชากรในประเทศเพื่อนบ้าน
เช่น ไทย ลาว
๑.๒ ประเทศลาว
พระมหาเจดีย์ชเวดากอง ในประเทศเมียนมา สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาที่สาคัญของประเทศ
๑) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศลาว
พระพทุ ธศาสนาเผยแผเ่ ขา้ สปู่ ระเทศลาวในรชั สมยั ของพระเจา้ ฟา้ งมุ้ (พ.ศ. ๑๘๙๖-๑๙๑๔) แห่งอาณาจักรล้านช้าง เนื่องจากมเหสีของพระองค์ คือ พระนางแก้วกัลยา ซ่ึงเป็นพระธิดาของพระเจ้า- ศรีจุลราชแห่งเมืองอินทปัตย์ในอาณาจักรกัมพูชา ทรงเคารพนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทมาก่อน เมื่อพระนางเสด็จมาประทับที่อาณาจักรล้านช้าง ทรงรู้สึกไม่สบายพระทัยจากการพบเห็นชาวเมือง เคารพผีสางเทวดา จึงกราบทูลให้พระเจ้าฟ้างุ้มแต่งคณะราชทูตไปทูลขอพระสงฆ์จากพระเจ้าศรีจุลราช เพื่อมาช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา นับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทก็เจริญรุ่งเรือง ในประเทศลาว และได้กลายเป็นศาสนาประจําาชาติไปในท่ีสุด
๒) การนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศลาว
พระพุทธศาสนาในประเทศลาวเป็นนิกายเถรวาท แต่หลังจากที่ถูกครอบงําาด้วย การปกครองระบอบคอมมิวนิสต์ พระพุทธศาสนาในประเทศลาวก็เสื่อมลง เมื่อสถานการณ์ทางการเมือง คล่ีคลาย ประเทศลาวได้มีความพยายามที่จะฟื้นฟูพระพุทธศาสนาขึ้นมาอีก โดยการส่งพระสงฆ์ลาว และคฤหสั ถม์ าประเทศไทยเพอ่ื ศกึ ษาแนวทางฟนื้ ฟพู ระพทุ ธศาสนาจากสมเดจ็ พระสงั ฆราชและพระเถระ ชั้นผู้ใหญ่ของประเทศไทย
12    สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ม.๒


































































































   12   13   14   15   16