Page 17 - ภูมิศาสตร์ ม 4-6
P. 17

แผนทภี่ มู ปิ ระเทศทนี่ าํา สว่ นหนงึ่ มาแสดงเปน็ ตวั อยา่ ง เปน็ แผนทภี่ มู ปิ ระเทศ 1 : 50,000 ของประเทศไทย เป็นแผนที่ชุด L7018S ดังรายละเอียดขอบระวางที่มุมขวาบน สิ่งสําาคัญในการใช้แผนที่ ภูมิประเทศ คือ เส้นชั้นความสูง (contour line) ซึ่งเป็นเส้นสมมุติที่ลากผ่านจุดบนพ้ืนผิวโลกที่มี ความสูงจากระดับทะเลปานกลางเท่า ๆ กัน แต่ละเส้นแสดงลักษณะและรูปร่างของพื้นผิวโลก ณ ระดับ ความสูงหนึ่งโดยมีตัวเลขกําากับอยู่ด้วย
จากแผนที่ระวาง อําาเภอนาดี จังหวัดปราจีนบุรี สามารถอ่านและแปลความหมายได้ ดังนี้
พื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นเขตภูเขาที่มีแอ่งที่ราบระหว่างภูเขา คือ แอ่งที่ราบบริเวณ บ้านทับลาน ยอดเขาสูงที่สุดในพื้นที่ คือ ยอดเขาละมั่ง สูง 993 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง เป็น ยอดเขาที่อยู่ตรงเขตแดนระหว่างจังหวัดนครราชสีมากับจังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ทั้งหมด เขาละมั่งเป็นต้นน้ําาลําามูลที่ไหลลงไปทางจังหวัดนครราชสีมา
ในแอ่งท่ีราบมีระดับสูงประมาณ 70-90 เมตร โดยลาดเอียงมาทางใต้ จุดต่ําาสุดอยู่บริเวณ บ้านกุดตะวัน มีระดับสูง 70 เมตร ขอบท่ีราบสูงมีระดับสูงประมาณ 90-100 เมตร
ที่ราบที่สําาคัญ คือ แอ่งระหว่างภูเขาเรียกว่า แอ่งทับลาน เป็นพื้นท่ีที่อยู่อาศัยและที่ตั้งชุมชน มีลําานํา้าสําาคัญ คือ ลําาพระยาธาร ไหลผ่านที่ราบ ในแอ่งน้ีจึงเป็นท่ีสะสมตะกอนที่ลําานํา้าสาขาของ ลําาพระยาธารพัดพาลงมาทับถม
ตัวอย่างการอ่านและการแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศ
1. ภูมิประเทศ
2. ลุ่มนํา้า
ในแผนที่ระวาง อําาเภอนาดี มีลุ่มนํา้าลําาพระยาธารเป็นลุ่มนํา้าสําาคัญในพื้นที่ ไหลลงทางใต้บริเวณช่องเขาบ้านหินดาด บ้าน- กุดตะวัน มีต้นนํา้าของห้วยยาวใหญ่ไหลไปทาง ตะวันออก มีสาขาต้นนํา้าลําามูลไหลไปทาง
ตะวันออกเฉียงเหนือ
3. การใช้ที่ดิน
เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าว อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่และอุทยาน- แห่งชาติทับลาน บริเวณภูเขาจึงเป็นเขตอนุรักษ์ แต่ในเขตแอ่งที่ราบทับลานมีประชาชนตั้งถิ่นฐาน มาก่อน จึงสามารถอยู่อาศัยและใช้เป็นพื้นที่
เพาะปลูกได้
จะเห็นได้ว่า การใช้แผนที่ภูมิประเทศสามารถแปลความหมายจากข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ใน แผนท่ีได้
เคร องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ 15


































































































   14   15   16   17   18