Page 25 - ศิลปะ ป 6
P. 25
เพลงแขกบรเทศ (สองชั้น)
(ทางระนาด)
ทานองกลับต้นแล้ว
ทานองกลับต้นแล้ว
๒) การประสานเสียงระหว่างเครื่องดนตรีต่างชนิดกัน คือ การบรรเลง ด้วยการใช้เคร่ืองดนตรีต่างชนิดกัน และนามาดัดแปลง จังหวะทานองใหม่ให้เหมาะสมกับ เครอื่ งดนตรชี นดิ นนั้ จนเกดิ การบรรเลงทมี่ จี งั หวะและทา นองเดยี วกนั มกี ารบรรเลงพรอ้ มกนั
๓) การประสานเสียงโดยการแปรทานอง คือ การบรรเลงท่ีมีการดัดแปลง พลกิ แพลงทา นองของนกั ดนตรี ทา ใหเ้ กดิ การประสานเสยี งขนึ้ แตจ่ ะถอื ทา นองหลกั เปน็ สา คญั
๑.๕ พื้นผิวของดนตรี
พื้นผิวของดนตรี คือ ลักษณะแนวเสียงต่าง ๆ ในเพลง ทั้งเสียงท่ีเกิดขึ้น ในแนวตั้งและแนวนอนตามหลักของดนตรีไทย
๑.๖ คีตลักษณ์
คีตลักษณ์ คือ ลักษณะหรือรูปแบบโครงสร้างของเพลงที่กาหนดข้ึน โดยผู้ประพันธ์เพลง
คําถํามท้ําทําย
สิ่งใดบ้างที่ทาให้การบรรเลงดนตรีมีความไพเราะ
ท่อนที่ ๑
---ซ
ลล ล ล
- - - ด
ลลล ล
-ซซซ
-ล-ซ
---ม
ม มม ม
ทลซม
ซม ร ด
ทฺลฺซฺลฺ
ทฺ ด ร ม
ซลรด
ทลซม
ฟ ซล ซ
ฟ มร ด
ท่อนที่ ๒
-มมม
- ร - ด
รมรด
-ซ-ล
ด ซ ล ซ
รม ซ ล
มรดซ
ล ท ด ร
ท ซล ซ
ด ล ท ด
รมรด
ท ล ซม
ซ ล ร ด
ท ล ซม
ฟ ซล ซ
ฟ ม รด
องค์ประกอบดนตรีและศัพท์สังคีต 89