Page 26 - ศิลปะ ป 6
P. 26

๒. ศัพท์สังคีต
กรอ
การบรรเลงเครื่องดนตรี ประเภทตี เช่น ระนาด ฆ้องวง ใช้ ๒ มือตีสลับกัน ถี่ ๆ เป็นการรัวเสียงเดียว
กวาด
การบรรเลงเครื่องดนตรี ประเภทตี เช่น ระนาด ฆ้องวง โดยใช้ไม้ตี ลากไป บนเครอื่ งดนตรี(ลกู ระนาด หรือลูกฆ้อง) การกวาดจะ กวาดจากเสียงสูงไปต่า หรือเสียงต่าไปสูงก็ได้
ขับ
การเปลง่ เสยี งออกไปเหมอื น การร้อง แต่มักใช้ในทานอง ที่มีความยาวไม่แน่นอน เช่น ขับเสภา
เดี่ยว
การบรรเลงดว้ ยเครอื่ งดนตรี ประเภทดาเนินทานอง อย่างเดียว เช่น ระนาด ฆ้องวง ซอ ซึ่งอาจมีฉิ่ง ฉาบ โหม่ง ประกอบจังหวะด้วย
ครวญ
วิธีการร้องที่มีการสอดแทรก เสียงเอ้ือนยาว ๆ ใช้เฉพาะ เพลงที่มีอารมณ์โศกเศร้า
ศัพท์สังคีต
คือ คาศัพท์เฉพาะที่ใช้กับ วิชาดนตรีและการขับร้อง เพ่ือให้ทราบรายละเอียด ในสิ่งท่ีเรียนได้ง่ายขึ้น
เถา
หมายถึงเพลงเดียวกัน แตจ่ ะมอี ตั ราจงั หวะลดหลนั่ กันไป คือ สามชั้น สองชั้น และชั้นเดียว โดยบรรเลง ติดต่อกัน
เอื้อน
ในการขับร้อง คือ การร้อง ทา นองโดยใชเ้ สยี งเปลา่ ไมม่ ี ถ้อยคาออกเสียงคล้าย สระเออ ในการบรรเลงดนตรี หมายถึง การทาสาเนียงให้ ติดต่อกันสนิท จะเป็นจาก เสียงสูงไปต่า หรือเสียงต่าไป สูงก็ได้
ขยี้
วิธีบรรเลงดนตรี โดยเพิ่ม พยางค์ในประโยคเพลง ให้มากขึ้นกว่าการบรรเลง ปกติ เช่น บรรเลงประโยค เพลงนั้นให้เร็วขึ้นเป็น หลายครั้งในเวลาเท่าเดิม
ทอด
การผ่อนจังหวะให้ช้าลง โดยมากมักจะบรรเลง ก่อนจะจบเพลง
โอด
วิธีการดาเนินทานองเพลง อย่างหน่ึง ซึ่งดาเนินไปอย่าง โหยหวน และโศกซึ้ง
90 ศิลปะ ป.๖


































































































   24   25   26   27   28