Page 15 - การบัญชีภาษีเงินได้นิติบุคคล
P. 15

3. ฐานภาษีของภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคล คําานวณจากเงินได้ที่ใช้เป็นหลักฐานในการคําานวณภาษีคูณด้วยอัตราภาษี ท่ีกําาหนด ดังนั้นเงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลหรือฐานภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น โดยทั่วไปได้แก่ กําาไรสุทธิท่ีคําานวณตามเง่ือนไขท่ีกําาหนด แต่เพื่อความเป็นธรรมและอุดช่องว่างในการจัดเก็บภาษีเงินได้ จึงได้มีการบัญญัติจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคลจากเงินได้หรือฐานภาษีที่แตกต่างกัน ดังนี้
1. กําาไรสุทธิ
2. ยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
3. เงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
4. การจําาหน่ายเงินกําาไรออกไปจากประเทศไทย
4. ภาษีเงินได้นิติบุคคลคานวณจากกาไรสุทธิ
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกําาไรสุทธิ ได้แก่
4.1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีต้ังขึ้นตามกฎหมายไทย
4.1.1 บริษัท จําากัด
4.1.2 บริษัทมหาชน จําากัด
4.1.3 ห้างหุ้นส่วน จําากัด
4.1.4 ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ในกรณีที่บริษัทห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยมีสาขา ไม่ว่าจะอยู่ในหรือ
นอกประเทศไทย จะต้องนําากําาไรสุทธิของสาขามารวมกําาไรสุทธิของสําานักงานใหญ่เพื่อเสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลในประเทศไทย
4.2 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ
มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลในประเทศไทย ได้แก่
4.2.1 บรษิ ทั หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลทตี่ ง้ั ขนึ้ ตามกฎหมายของตา่ งประเทศและกระทาํา กจิ การ ในท่ีอื่นๆ รวมทั้งในประเทศไทย ได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ต้ังขึ้นตามกฎหมายของ ตา่ งประเทศดงั กลา่ ว จะตอ้ งนาํา กาํา ไรสทุ ธเิ ฉพาะทไี่ ดจ้ ากการกระทาํา กจิ การในประเทศไทยมาเสยี ภาษเี งนิ ได้ นิติบุคคล
4.2.2 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งต้ังขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มีลูกจ้าง หรือผู้ทําาการแทน หรือผู้ทําาการติดต่อในการประกอบกิจการในประเทศไทย ซึ่งเป็นเหตุให้ได้รับเงินได้ หรือผลกําาไรในประเทศไทย ให้ถือว่าบุคคลผู้จ้างเป็นลูกจ้าง หรือผู้ทําาการแทน หรือผู้ทําาการติดต่อเช่นว่านั้น ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคล เป็นตัวแทนของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งตั้งขึ้น
ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล 5


































































































   13   14   15   16   17