Page 11 - พลศึกษา ม 4-6
P. 11
๓.๓ ขอ้ ตอ่ รปู ไข่ (Gliding joints) เปน็ ขอ้ ตอ่ ทปี่ ลายกระดกู ชนิ้ หนงึ่ มลี กั ษณะคลา้ ยไข่ นนู กลม สอดเข้าไปในส่วนของกระดูกอีกชิ้นหนึ่ง สามารถเคลื่อนไหวไป
ข้างหน้า ข้างหลังและข้าง ๆ ในลักษณะงอและเหยียด เช่น ข้อต่อของข้อมือ
๓.๔ ข้อต่อรูปอานม้า (Saddle joints) เป็นข้อต่อที่ ปลายกระดูกชิ้นหนึ่งมีลักษณะคล้ายอานม้า อีกชิ้นหนึ่งสอดรับ รอยเว้าสวมคล้ายอานม้า เคลื่อนไหวในลักษณะงอ เหยียด กาง และหุบเข้า เช่น ข้อต่อของฝ่ามือ โคนนิ้วหัวแม่มือ ฝ่าเท้าและ โคนน้ิวหัวแม่เท้า
ข้อต่อรูปอานม้า
๓.๕ ข้อต่อรูปบอลในเบ้า (Ball and socket joints) เป็นข้อต่อที่มี หัวกระดูกช้ินกลมสวมลงไปในชิ้นที่เป็น เบ้าหลุม สามารถเคล่ือนไหวได้รอบตัว ท้ังงอ เหยียด กางออก หุบเข้า หมุนเป็น รูปกรวยหรือฝาชี เช่น ข้อต่อที่สะโพก
หัวไหล่
ข้อต่อรูปไข่
ข้อต่อรูปบอลในเบ้า
ข้อต่อสะโพก
ข้อต่อหัวไหล่
๓.๖ ข้อต่อรูปไขควง (Pivot joints) เป็นข้อต่อ ท่ีปลายกระดูกชิ้นหนึ่งสอดเข้าไปในกระดูกอีกช้ินหน่ึง เป็นวง ทําาให้เกิดการหมุนรอบตัวได้ เช่น ข้อต่อของ กระดูกคอชิ้นท่ี ๑ และชิ้นที่ ๒ กระดูกท่ีปลายแขนทําาให้ หงายและคว่ําําามือได้
๒) การทําางานของกล้ามเน้ือ
กระดูกคอชิ้นท่ี ๑ และชิ้นท่ี ๒
การหดตัวของกล้ามเนื้อทําาให้เกิดแรงที่ช่วยให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดการเคล่ือนไหว กล้ามเน้ือแบ่งออกได้ ๓ ชนิด คือ กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac muscle) กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth muscle) และกล้ามเนื้อลาย (Skeletal muscle)
กลา้ มเนอื้ ลาย เปน็ กลา้ มเนอื้ ทยี่ ดึ ตดิ กบั กระดกู มบี ทบาทสาํา คญั ตอ่ การเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย สามารถหดตวั เหยยี ดตวั ยดื หยนุ่ และมคี วามรสู้ กึ ตอ่ สงิ่ เรา้ ทาํา งานอยภู่ ายใตอ้ าํา นาจของจติ ใจ (Voluntary)
รูปแบบการเคล่ือนไหวในการเล่นกีฬาและการเคลื่อนไหวอย่างสร้างสรรค์ 9