Page 12 - พลศึกษา ม 4-6
P. 12
๓) กล้ามเนื้อที่เป็นกลไกในการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อลายประกอบด้วยเซลล์กล้ามเนื้อที่เรียกว่า “เส้นใย
กลา้ มเนอื้ ” เสน้ ใยจะอยรู่ วมกนั เปน็ มดั ตดิ กนั ดว้ ยเยอื่ บางเหนยี ว เรยี กวา่
“มัดกล้ามเนื้อเล็ก ๆ” ซึ่งกล้ามเนื้อเล็ก ๆ จะรวมตัวกันเป็นมัดใหญ่ โดย
มีเยื่อเกี่ยวพันเหนียวหุ้มอยู่ มีเซลล์ประสาทและหลอดเลือดมาเลี้ยง ส่วนปลายของมัดกล้ามเนื้อจะเป็นเอ็นที่มีลักษณะเหนียวเกาะติดอยู่กับ
สว่ นของกระดกู กลา้ มเนอื้ ลายในรา่ งกายจะอยเู่ ปน็ มดั ๆ โดยมสี ว่ นปลาย ของมัดกล้ามเนื้อกลายเป็นเอ็นยึดติดกับกระดูก เม่ือกล้ามเนื้อหดตัว
ส้ันเข้า เอ็นกล้ามเนื้อจะดึงกระดูกท่ีกล้ามเน้ือยึดติด ทําาให้กระดูกเคล่ือนเข้าหากัน เว้นแต่จะมีแรงดึง ของกลา้ มเนอ้ื มดั อนื่ ยดึ ไว้ การหดตวั ของกลา้ มเนอื้ จะทาํา ใหเ้ กดิ การเคลอื่ นไหวตามลกั ษณะของขอ้ ตอ่ เชน่ การงอแขน การเหยียดแขน โดยมีจุดยึดเกาะของกล้ามเน้ือ ๒ จุด ดังนี้
๑. จุดยึดต้น (Origin) เป็นจุดยึดเกาะกับกระดูกส่วนท่ีใกล้แกนกลางของลาํา ตัว จุดน้ีจะเป็น จุดยึดอยู่กับที่เม่ือกล้ามเนื้อหดตัวเพื่อเคล่ือนไหว เรียกจุดนี้ว่า “จุดตรึง”
๒. จดุ ยดึ ปลาย (Insertion) เปน็ จดุ ยดึ เกาะกบั กระดกู ทไี่ กลออกไป จดุ นม้ี กั เปน็ จดุ ทก่ี ลา้ มเนอื้ ออกแรงมากระทําาและเคล่ือนที่เข้าหาจุดยึดต้น ทําาให้เกิดการเคลื่อนไหวของกระดูก เรียกจุดนี้ว่า “จุดเคล่ือนที่”
จุดยึดต้น
จุดยึดต้น
ข
จุดยึดเกาะของกล้ามเนื้อต้นแขน
(ก ขณะเหยียดแขน และ ข ขณะงอแขน)
๔) การทําางานของระบบประสาท
จุดยึดปลาย จุดยึดปลาย ก
จุดยึดต้น กล้ามเน้ืองอข้อศอก
จุดยึดปลาย
เสน้ ใยกลา้ มเนอื้
ระบบประสาทประกอบด้วย สมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาทต่าง ๆ มีหน้าท่ีควบคุม สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายใหป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ละประสานงานกนั ควบคมุ ความคดิ และความประพฤตขิ องรา่ งกาย ท าํา ใ ห ไ้ ด เ้ ห น็ ไ ด ย้ นิ ไ ด พ้ ดู แ ล ะ เ ค ล อ่ ื น ไ ห ว ไ ด ้ ค ว บ ค มุ ห น า้ ท ข่ ี อ ง อ ว ยั ว ะ ภ า ย ใ น ใ ห ด้ าํา เ น นิ ไ ป ไ ด ต้ า ม ป ก ต ิ แ ล ะ รับความรู้สึกต่าง ๆ จากภายนอกตัว
การทํางานของกล้ามเนื้อหดตัว และคลายตัวของแขนท่อนบน
10 พลศึกษา ม.๔-๖