Page 14 - พลศึกษา ม 4-6
P. 14
ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายสามารถนําาไปเปรียบเทียบกับส่วนต่าง ๆ ของคานได้ ดังนี้ กระดูก คือ คาน ข้อต่อ คือ จุดหมุน
นํา้ําาหนักของกระดูก คือ แรงต้านทาน แรงดึงของกล้ามเนื้อ คือ แรงพยายาม
หลักของกลไกมีอยู่ว่า ถ้าแรงต้านทานอยู่ไกลจากจุดหมุนมากก็จะต้องใช้แรงมาก
อวยั วะของรา่ งกายทปี่ ระกอบเขา้ กนั แลว้ มคี ณุ ลกั ษณะคลา้ ยคาน เชน่ กระดกู ตน้ แขน ทาํา หนา้ ทเี่ ปน็ ท่อนวัตถุ มีจุดหมุนอยู่ที่ข้อต่อหัวไหล่ มีแรงของความพยายามจากกล้ามเนื้อหัวไหล่กระทําาต่อกระดูก ต้นแขน และมีนํา้ําาหนักของหน้าแขน ทําาหน้าที่เป็นแรงของความต้านทาน กระทําาต่อกระดูกต้นแขน ที่ปลายล่างหรือข้อศอก
ชนิดของคาน
เนื่องจากตําาแหน่งของจุดหมุน ตําาแหน่งของแรงต้านทานและตําาแหน่งของแรงพยายามที่ประกอบ กันเป็นคานสามารถสับเปลี่ยนกันได้ จึงจําาแนกคานออกเป็น ๓ ชนิด ดังนี้
คานชนิดที่ ๑ คือ คานที่มีจุดหมุนอยู่กลางท่อนวัตถุ มีแรงของความพยายามกับแรงของความ ต้านทานอยู่ทางปลายตรงข้ามกันบนท่อนวัตถุนั้นและทิศทางของแรงทั้งสองที่กระทําาต่อท่อนวัตถุยังชี้ไป ในทางเดียวกัน
เมื่อสังเกตจะเห็นว่าทิศทางของแรงทั้งสองต่างชี้ลงข้างล่างและจุดหมุนท่อนวัตถุอยู่ข้างบน เช่น การเล่นกระดานหก กรรไกรตัดกระดาษ การเงยศีรษะ การงอแขน การเหยียดแขน
แรงพยายาม จุดหมุน แรงต้านทาน คานชนิดที่ ๑ จุดหมุนอยู่ระหว่างแรงต้านทานกับแรงพยายาม
แรงพยายาม
แรงพยายาม จุดหมุน
การบีบคีมตัดลวด จุดหมุน
แรงต้านทาน แรงพยายาม
การเหยียดแขนส่งลูกบาสเกตบอล
แรงต้านทาน
แรงต้านทาน
จุดหมุน การเล่นกระดานหก
แรงพยายาม
แรงต้านทาน
จุดหมุน การงอแขนก่อนส่งลูกบาสเกตบอล
12
พลศึกษา ม.๔-๖