Page 15 - พลศึกษา ม 4-6
P. 15

คานชนิดที่ ๒ คือ คานที่มีแรงของความต้านทานอยู่กลางวัตถุ โดยที่แรงของความพยายามอยู่ที่ ปลายข้างหนึ่ง (ทิศทางของมันชี้ขึ้นข้างบน) ส่วนจุดหมุนหนุนท่อนวัตถุนั้นอยู่ที่ปลายตรงข้าม
หากสังเกตทิศทางของแรงทั้งสองจะพบว่าชี้ไปในทางตรงข้ามกัน โดยแรงของความต้านทานชี้ลง ข้างล่าง ส่วนแรงของความพยายามชี้ขึ้นข้างบน เช่น รถลากเหล็ก ที่หนีบอ้อยคว่ัน การเขย่งส้นเท้า
การเคล่ือนไหวในร่างกายของคานชนิดท่ี ๒ น้ีพบได้น้อยมาก
การเขย่งส้นเท้า
แรงพยายาม
จุดหมุน
กล้ามเนื้อน่อง
แรงพยายาม
แรงต้านทาน
จุดหมุน
คานชนิดที่ ๒ แรงต้านทานอยู่ระหว่างแรงพยายามกับจุดหมุน
แรงต้านทาน
คานชนิดที่ ๓ คือ คานที่มีแรงพยายาม (มีทิศทางของแรงชี้ขึ้นข้างบน) อยู่ตรงกลาง ส่วนแรงของ ความต้านทานอยู่ที่ปลายท่อนวัตถุ (ทิศทางของแรงชี้ลงข้างล่าง) และมีจุดหมุนอยู่อีกปลายข้างหนึ่ง
(ซึ่งกดปลายท่อนวัตถุเอาไว้) เช่น การยกของ
หากสังเกตทิศทางของแรงท้ังสอง พร้อมด้วยตําาแหน่งของจุดหมุน ซ่ึงตามปกติ แล้วจุดหมุนจะรองท่อนวัตถุท่ีทําาหน้าท่ีเป็น คาน แต่คานชนิดที่ ๓ น้ี จุดหมุนของมันกลับ กดท่อนวัตถุ
แรงพยายาม
แรงต้านทาน คานชนิดที่ ๓ แรงพยายามอยู่ระหว่างแรงต้านทานกับจุดหมุน
จุดหมุน
ตัวอย่างการเคลื่อนไหวของคานชนิดที่ ๓ เช่น การทําางานของแขนขณะดันรถ การงอข้อศอกขณะ ดึงเรือเข้าฝั่ง การทําางานของแขนขณะยกของ
แรงต้านทาน
แรงพยายาม แรงต้านทาน
จุดหมุน
แรงพยายาม
จุดหมุน
การทํางานของแขนขณะยกของ
การทํางานของแขนขณะดันรถ
รูปแบบการเคลื่อนไหวในการเล่นกีฬาและการเคล่ือนไหวอย่างสร้างสรรค์ 13


































































































   13   14   15   16   17