Page 16 - พลศึกษา ม 4-6
P. 16

๒) คานกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย
จุดหมุนและแรงพยายามในร่างกายมักจะคงที่ โดยข้อต่อตําาแหน่งเดียวอาจจะเป็นคานได้ หลายชนิด แต่ส่วนมากมักจะเป็นคานชนิดที่ ๑ และชนิดที่ ๓ เช่น การออกกําาลังกายหรือเล่นกีฬาที่มีการ เคลื่อนไหวทุกครั้งข้อต่อจะไม่เคลื่อนไหวเพียงข้อต่อเดียว แต่จะเคลื่อนไหวพร้อม ๆ กันหลายข้อต่อ เพื่อช่วยผ่อนงานของแต่ละข้อต่อลงไปได้ไม่มากก็น้อยต่อการออกกําาลังแต่ละครั้ง เช่น ขณะที่วิ่ง ขาท่อนบนงอ จะทําาให้กล้ามเน้ือก้นและกล้ามเนื้อท้องขาต้องหย่อนตัว เนื่องจากกล้ามเนื้อท้องขาซึ่งเป็น กลา้ มเนอื้ ยดื ขา ขณะเดยี วกนั กเ็ ปน็ กลา้ มเนอ้ื งอเขา่ ดว้ ย จงึ ไมท่ าํา ใหเ้ ขา่ งอตามไปดว้ ย กรณเี ชน่ นกี้ ลา้ มเนอื้ ที่ต้องงอขาก็ต้องผ่อนแรงไปด้วย ถ้าหัวเข่าไม่งอแล้วกล้ามเนื้อจะต้องออกแรงมากจึงจะทําาให้วิ่งได้
การผ่อนแรงมี ๓ รูปแบบ ดังนี้
๑. แขนของความพยายามยาวกว่าแขนของความต้านทาน เราใช้แรงน้อยลง แต่ความเร็ว และระยะทางเพิ่มขึ้น เช่น ในการตีลูกกอล์ฟ ถ้าเง้ือแขนในมุมท่ีเท่ากัน การตีด้วยไม้กอล์ฟที่ยาวกว่า จะทําาให้มีความเร็วที่ปลายไม้มากกว่าไม้สั้น จนทําาให้เกิดโมเมนตัม (Momentum) หรือแรงกระแทกมาก สามารถตีลูกได้ไกล
๒. แขนของความพยายามเท่ากับแขนของความต้านทาน เราใช้แรงเท่ากัน เช่น การใช้ไม้กอล์ฟ ที่มีขนาดเท่ากัน เงื้อแขนในมุมที่เท่ากัน ย่อมทําาให้ได้ความเร็วและระยะทางของลูกเท่ากัน
๓. แขนของความพยายามสั้นกว่าแขนของความต้านทาน เราใช้แรงมากข้ึน แต่ได้ความเร็วและ ระยะทางเพมิ่ ขน้ึ เชน่ การตลี กู ซอฟทบ์ อลดว้ ยไมท้ สี่ นั้ กวา่ ตอ้ งออกแรง
มากกว่าไม้ยาว แต่ลูกจะมีความเร็วและตีได้ไกล
ดังน้ัน นักเรียนจึงควรรู้จักนําาหลักของคานไปใช้ในการ เคลื่อนไหวทางกีฬา เช่น การตีเทนนิสที่มีไม้แร็กเกต ทําาหน้าที่เป็นคาน น อ ก จ า ก น ้ ี ก า ร ต เี ท น น สิ ใ ห แ้ ร ง ข า จ ะ ต อ้ ง ก า ง เ พ อื ่ ใ ห ฐ้ า น ก ว า้ ง เ ก ดิ ค ว า ม มั่นคง ศอกและข้อมือจะต้องคงที่ เพื่อให้คานมีลักษณะแข็งแรง การเหวยี่ งไมไ้ ปดา้ นหลงั มาก ๆ การบดิ ตวั และการวงิ่ เขา้ หาลกู จะทาํา ให้ เกิดความเร็วที่จุดกระทบมากขึ้น แรงในการตีจึงเพิ่มมากขึ้น
๓) อุปกรณ์กีฬาที่ทําาหน้าท่ีเป็นคาน
การตีเทนนิสต้องเหวี่ยงไม้ และบิดตัวไปด้านหลัง อุปกรณ์กีฬาท่ีเป็นคาน เช่น ไม้แบดมินตัน ให้มาก เพื่อให้สามารถตีเทนนิสได้แรง
ไม้เทนนิส ไม้กอล์ฟ ไม้ฮอกกี้ ซึ่งอุปกรณ์กีฬาอาจเป็นคาน สําาเร็จรูปในตัวของมันเองหรือทําาหน้าที่เป็นเพียงแขนเทียมเสริมแขนของเราให้ยาวออกไป ซึ่งแขน ลําาตัว และขามักจะทําางานร่วมกันเป็นระบบคานหลาย ๆ คาน เช่น ขณะเสิร์ฟลูกเทนนิส ลําาตัวจะทําาหน้าที่เป็น คานอนั หนงึ่ แขนทอ่ นบนทาํา หนา้ ทเี่ ปน็ คานถดั ไป แขนทอ่ นลา่ งทาํา หนา้ ทเี่ ปน็ คานรองสดุ ทา้ ย และไมเ้ ทนนสิ ทําาหน้าที่เป็นคานสุดท้าย เหตุผลที่เราต้องใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายและอุปกรณ์กีฬาทําาหน้าที่เป็นระบบ
14 พลศึกษา ม.๔-๖


































































































   14   15   16   17   18