Page 7 - นายพิทยา ผิวงาม 6180119114 (ตัวพระ) ห้อง 1
P. 7
ระบําเบ็ดเตล็ด ๒
็
การแสดงเบดเตล็ด
ี
ั
หมายถงการแสดงทเลนเปนชุดสันๆ มอยูดวยกนหลายประเภทในรูปแบบ ของมหรสพชนิดตางๆ
ี
่
้
ึ
ื
่
ิ
ื
ิ้
อาท ระบํา รํา ฟอน เซง ทเปนการแสดงพ้นเมองและการละเลนพนเมอง เชน ระบําฉง รํากลองยาว ฟอนเจิง
้
ื
ื
ี
่
ิ
กลองสะบัดชัย เตนกํารําเคียว รองเง็ง เพลงฉอย เพลงเรือ เพลงเกี่ยวขาว เพลงอีแซว เปนตน
้
ู
ึ
ี่
ํ
ระบา คอศิลปะของการรําทแสดงพรอมกันเปนหมเริ่มตั้งแต ๒ คนขนไป ไมจําเปนตองดําเนินเรื่อง
ื
เปนเรื่องราว การแสดงระบําจะเนนที่ความสวยงามของทารํา การแปรแถว เครื่องแตงกาย ความเหมาะสมและ
ี
ความพอเพยงของผูแสดง เพลงรอง และทํานองดนตรี การแสดงระบํามีทั้งการทําทารํา ที่เรียกวาการตีบทตาม
ํ
บทรอง และการแสดงระบําที่ทําทาโดยไมตองคานึงถึงบทรอง แตอาศัยการประดิษฐทารําใหมีความสวยงาม
ระบําของกรมศลปากรมีอยู ๒ แบบ คือ ระบําท่เปนแบบแผนด้งเดิม และระบําทประดิษฐ
ี
ิ
ี่
ั
ขนมาใหม
้
ึ
ภาพที่ ๒ การแสดงระบําสี่บทหรือระบําแมบทใหญ (ระบํามาตรฐาน)
ที่มา : นาฏศิลปไทย. ออนไลน.
ิ
ี
่
๑. ระบําเปนแบบแผนดงเดมหรือระบํามาตรฐาน คือ ระบําทประกอบดวยทารําบทรองและ
ั
้
เพลงหนาพาทย ตามแบบนาฏศลปไทยเปนระบําท่มีมาแตโบราณใชเปนมาตรฐานในการฝกหัด และการแสดง
ิ
ี
ั้
การแตงกายของระบํามาตรฐาน สวนใหญจะแตงกายทเรียกกนวา “ยืนเครือง” ทงตัวพระและตัวนาง เชน
ี
่
ั
่
่
ิ
ระบําเทพบันเทง ระบําสี่บท ระบําฝรังค ระบําพรหมาสตร ระบําดาวดงส ระบํากฤดาภินิหาร ระบํายองหงิด
ึ
ู
เปนตน
ภาพท ๓ ลักษณะการแตงกายยื่นเครื่อง (พระและนาง)
ี่