Page 5 - sadasd
P. 5
หน่วยที่ 1
้
หลักกำรเลือกใชอุปกรณ์ในกำรควบคุม
บทน ำ
้
้
์
ในการปฏบัติงานนั้นนักศกษาต้องมีความเขาใจในการเลือกใชอุปกรณไฟฟ้าในการควบคม มีความ
ิ
ุ
ึ
จ าเป็นที่ต้องรู้การความเป็นมาของการควบคุม และความหมายของการควบคุมเบื้องต้น มาตรฐาน สัญลักษณ ์
ต่างๆ ที่ใช้ในระบบควบคม เพื่อเป็นแนวทางในการเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ รวมทั้งความปลอดภัยในการ
ุ
ท างาน เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่ก าหนด
1.1 ควำมเปนมำและควำมหมำยของกำรควบคุม
็
1.1.1 ควำมเป็นมำของกำรควบคุม (ธวัชชัย อัตถวิบูลย์กุล.การควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า.2546)
สถานประกอบการหรือโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทย ได้มีการน าเข้าเครื่องจักรเพื่อใช้งานใน
สายงานการผลิต เพื่อลดการใช้ก าลังงานและลดตนทุนการผลิต ซึ่งเครื่องจักรทุกเครื่องจ าเป็นตองใช้มอเตอร์
้
้
ิ
ั
ไฟฟ้าเป็นเครื่องต้นก าลัง ดังนั้นเพื่อความปลอดภยในการปฏบัติงานบุคลากรของโรงงานจะต้องมีความรู้และ
์
ั
ุ
้
ความเขาใจในการสั่งการ หรือควบคมเครื่องจักรนั้นๆ ให้ท างานได้บรรลุตามวตถประสงค ฉะนั้นบุคลากรที่
ุ
ุ
์
เกี่ยวข้องกับงานดังกล่าวจะต้องมีความรู้ความเขาใจด้านอุปกรณควบคมมอเตอร์ไฟฟ้า ตลอดจนสัญลักษณ ์
้
ต่างๆ ที่จ าเป็นตองใช้ในวงจรควบคุมมอเตอร์ ซึ่งผู้ผลิตเครื่องจักรแต่ละประเภทอาจใช้สัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน
้
ส่วนใหญ่จะเป็นการเขียนการออกแบบวงจรควบคุม วงจรก าลัง เงื่อนไขการท างาน การเริ่มเดิน การกลับทาง
หมุน การหยุดของเครื่องกลไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ
1.1.2 ควำมหมำยของกำรควบคุม
เครื่องกลไฟฟ้ำ คือ อุปกรณ์ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้าหรือเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าไป
เป็นพลังงานกล พลังงานไฟฟ้า พลังงานกล
พลังงานกล พลังงานไฟฟ้า
รูปที่ 1.1 ความหมาย เครื่องกลไฟฟ้า
ิ
์
ื
้
เครื่องก ำเนดไฟฟำ (Electric generator) คออุปกรณที่แปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ ์
ดังกล่าวจะบังคบกระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านวงจรภายนอก แหล่งที่มาของพลังงานกลอาจจะเป็นลูกสูบหรือ
ั
เครื่องยนต์กังหันไอน้ า หรือแรงน้ าตกผ่านกังหันน้ าหรือล้อน้ า หรือเครื่องยนต์สันดาปภายใน หรือกังหันลมหรือ
ข้อเหวี่ยงมือ หรืออากาศอัด หรือแหล่งพลังงานกลอื่นๆ เครื่องก าเนิดไฟฟ้าจะจ่ายพลังงานไฟฟ้าเกือบทั้งหมด
ให้กับกริดพลังงานไฟฟ้า (http://th.wikipedia.org/wiki/เครื่องก าเนิดไฟฟ้า) 1/08/59
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก