Page 2 - l2
P. 2

บทที่ 2


                                                    การเคลื่อนที่แนวตรง

                       สรุปสาระส าคัญ


                       1.  ปริมาณต่าง ๆ ของการเคลื่อนที่

                       การบอกต าแหน่งของวัตถุใน 1 มิติ  ต้องเทียบกับจุดจุดหนึ่งในแนวการเคลื่อนที่  เรียกว่า  จุดอ้างอิง

               เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ ต าแหน่งของวัตถุนั้นจะเปลี่ยนไป ซึ่งการเปลี่ยนต าแหน่งของวัตถุเรียกว่า  การกระจัด
               (displacement)  การกระจัดเป็นประมาณเวกเตอร์บอกทั้งขนาดและทิศทาง  ส่วนความยาวตามเส้นทางที่วัตถุ

               เคลื่อนที่  เรียกว่า ระยะทาง (distance)  เป็นปริมาณสเกลาร์ที่บอกเฉพาะขนาด ดังนั้น ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการ
                                   ี
               เคลื่อนที่ที่นอกจากจะมการกระจัดและระยะทางแล้ว ยังมีอัตราเร็ว  ความเร็ว  และความเร่ง อีกด้วย

                       1.1.  การหาการกระจัดลัพธ์ (resultant displacement) ใช้วิธีการเดียวกับการรวมเวกเตอร์ มี 2
                              กรณีด้วยกันคือ

                              การกระจัดลัพธ์ที่มีทิศทางเดียวกัน







                              การกระจัดลัพธ์ที่มีทิศทางตรงข้าม








                       1.2.  อัตราเร็ว

                       เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่จะมีการเปลี่ยนต าแหน่ง ให้การเปลี่ยนต าแหน่งคงเดิม วัตถุที่เคลื่อนที่เร็วจะใช้เวลา

               ในการเปลี่ยนต าแหน่งน้อยกว่าวัตถุที่เคลื่อนที่ช้า ระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา จะเรียกว่า อัตราเร็ว
               เฉลี่ย (average speed)


                                                         ∆  
                                                   Vav =
                                                         ∆  
   1   2   3   4   5   6