Page 182 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 182
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 181
ส่วนที่ ๔
กำรด�ำเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภำพ
ึ
ิ
ปัจจุบันมีกระแสการคุ้มครองสิทธิเด็กและสตรีเพ่มข้นเป็นอย่างมากในระดับสากล
โดยมีอนุสัญญาระหว่างประเทศ คือ อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และอนุสัญญาว่าด้วยการขจัด
ี
ุ
่
ิ
ื
ิ
ั
ิ
้
ั
ุ
ั
ู
ี
ั
การเลอกปฏบตตอสตรในทกรปแบบ ประเทศไทยในฐานะภาคสมาชกในอนสญญาทงสองฉบบ
ั
ื
ั
ุ
้
ั
่
่
ั
ึ
ั
็
้
จงไดบัญญติกฎหมายเพ่อใหสอดคล้องกับอนุสญญาดงกลาว ได้แก พระราชบญญติคมครองเดก
้
พ.ศ. ๒๕๔๖ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐ ๘
และพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
�
�
พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยกฎหมายดังกล่าวได้กาหนดบทบาทอานาจหน้าท่ของพนักงานอัยการ
ี
สานักงานคดีเยาวชนและครอบครัว ในการเข้าไปดาเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กและสตร ี
�
�
รวมถึงบุคคลในครอบครัว ท้งเป็นบทบาทโดยตรงและบทบาทเชิงสนับสนุน พนักงานอัยการ
ั
จึงควรพิจารณาบทบาทของตนเพ่อให้มีการดาเนินการคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กหรือสตร ี
�
ื
ให้บรรลุตามเจตนารมณ์ของกฎหมายต่อไป
๑. บทบำทของพนักงำนอัยกำรในกำรด�ำเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภำพโดยตรง
�
ในปัจจุบันได้มีพระราชบัญญัติท่เก่ยวข้องกับการดาเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก สตร ี
ี
ี
และบุคคลในครอบครัว ในศาลเยาวชนและครอบครัว คือ พ.ร.บ.คุ้มครองเด็กฯ พ.ร.บ.คุ้มครอง
ผู้ถูกกระท�าด้วยความรุนแรงฯ และ พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ ซึ่งกฎหมายแต่ละฉบับมีสาระส�าคัญ
ั
ั
ั
่
ุ
ั
ิ
ี
�
ิ
ในส่วนของการดาเนนคดค้มครองสวสดภาพในชนศาลทแตกต่างกนออกไป พนกงานอยการ
ี
ั
้
ั
จึงจาเป็นต้องวิเคราะห์ข้อดีและข้อด้อยของกฎหมายท้งสามฉบับ เพ่อนามาใช้ให้เกิดประโยชน์
�
ื
�
ี
สูงสุดต่อเด็ก สตร และบุคคลในครอบครัว นอกจากน้พนักงานอัยการพึงต้องพิจารณาถึง
ี
ั
หลักเกณฑ์ในการดาเนินคดีคุ้มครองสวัสดิภาพท้งในช้นพนักงานอัยการและช้นศาลด้วย
ั
�
ั
กล่าวคือ
๘
อ้างแล้ว ดูเชิงอรรถที่ ๖