Page 218 - Book คู่มือดำเนินคดีเยาวชน
P. 218
คู่มือการด�าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. ๒๕๖๓ 217
คู่มือการด าเนินคดีเยาวชนและครอบครัว ๒๑๐
การบรรยายฟ้อง
หลักในการ
บรรยายฟอง
ู
- ยึดหลัก ปวอ. มาตรา ๑๕๘
- ใช้ภาษาอย่างถูกต้อง ใช้ถ้อยค ากะทัดรัดไม่ฟุุมเพือย แต่ต้องไม่ขาดข้อความจนเป็นเหตุให้จ าเลย
หลงต่อสู้
- บรรยายข้อเท็จจริงให้ครบองค์ประกอบความผิดที่ฟูอง
- บรรยายข้อเท็จจริงในส านวนการสอบสวนที่เป็นคุณและโทษแก่จ าเลยตามที่กฎหมายบัญญัติและ
ระบุมาตราดังกล่าวในค าขอท้ายฟูองด้วย
- ในคดีความผิดต่อส่วนตัว ให้บรรยายให้ได้ความว่าผู้เสียหายได้ร้องทุกข์ภายในอายุความตาม
กฎหมายแล้ว
- ในความผิดบางประเภท ให้บรรยายให้ได้ความตามนโยบาย ค าสั่ง หรือแนวทางปฏิบัติตามที่
ส านักงาน อัยการสูงสุดก าหนด
- การระบุฐานความผิดในค าฟูอง ควรใช้ฐานความผิดที่มีกฎหมายบัญญัติ แต่จะใช่ชือฐานความผิด
ที่ใช้กันแพร่หลายก็ได้
- การระบุอายุจ าเลยให้ระบุว่า “อายุ ๑๗ ปีเศษ” ถ้าขณะยื่นฟูองอายุเกินเยาวชนให้ระบุว่า “อายุ
๑๘ ปีเศษ (ขณะกระท าผิดอายุ ๑๗ ปีเศษ)” ถ้าไม่ทราบอายุ ให้ระบุว่า “อายุ ๑๗ ปีเศษ (ตาม
รายงานแพทย์)”
- ที่อยู่จ าเลย ให้ระบุถิ่นที่อยู่จริง ๆหรือของบิดามารดา
- ระบุวันและเลขคดีตรวจสอบการจับ (ตจ) หรือการควบคุม (มต.)
- ระบุวันครบผัดฟูอง เลขผัดฟูอง
- กรณีหลบการควบคุม ระบุวันจับได้ใหม่ เลขคดี
- กรณีถูกควบคุมตัวในคดีอื่นภายในเขตจังหวัดเดียวกันซึ่งสามารถเบิกตัวมาได้ ให้ระบุเลขคดีนั้น
ด้วย
- ระบุเลขคดีในรายงานข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน
- ระบุชื่อบิดา มารดา ผู้ปกครอง สถานภาพของบิดาและมารดา
- กรณีผอ.สถานพินิจสั่งงดการสืบเสาะ ให้ระบุด้วย
- ระบุคัดค้านการปล่อยชั่วคราวหรือไม่
- กรณียื่นฟูองต่อศาลท้องที่เกิดเหตุ ต้องระบุว่าเพื่อประโยชน์ของจ าเลยอย่างไรด้วย
ก