Page 20 - CPS Report 2564
P. 20
❖ โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร ระยะที่ 2
จังหวัดศรีสะเกษ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้รับผลกระทบจาก
ึ่
ปัญหาภัยแล้งอยู่เป็นประจำ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่ต้องพงพาแหล่งน้ำจากธรรมชาติเนื่องจากไม่มี
ื
ี
แหล่งน้ำเป็นของตนเอง เช่น การทำนา ปลูกพชไร่ เลี้ยงสัตว์ เป็นต้น ทำให้มีน้ำไม่เพยงพอในการทำการเกษตร
ี
ประสบปัญหาผลผลิตไม่ได้ตามความต้องการ รายได้ไม่เพยงพอกับรายจ่าย ขาดรายได้มาหมุนเวียนภายใน
ครัวเรือน
ื่
โครงการสนับสนุนเงินทุนเพอสร้างระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 2 เป็นหนึ่ง
ในโครงการที่กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดทำขึ้น ต่อเนื่องจากโครงการฯ ระยะที่ 1 เพอลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ำ
ื่
ในการทำเกษตรกรรม และส่งเสริมการจัดระบบไร่นาเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ำในฟาร์มของตนเอง ลดการ
พงพาน้ำจากระบบชลประทาน และแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยได้รับการจัดสรรเงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร
ึ่
ให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรนำไปสนับสนุนเงินกู้แก่สมาชิกสำหรับไปลงทุนพัฒนาแหล่งน้ำในแปลงไร่นาของตนเอง
โดยการขุดสระกักเก็บน้ำไว้ใช้ในไร่นา หรือขุดเจาะบ่อน้ำบาดาลไว้ใช้ทดแทนน้ำชลประทานในบางช่วงที่เกิดการขาด
ื่
แคลนน้ำเพอการเกษตร รวมทั้งสามารถนำระบบน้ำใต้ดินมาใช้ประโยชน์ พร้อมสร้างการเปลี่ยนแปลงจากระบบการทำ
ึ่
เกษตรกรรมพงธรรมชาติ เป็นเกษตรแบบบริหารจัดการ มีระยะเวลาดำเนินงาน 6 ปี ตั้งแต่ปี 2563 – 2568
โดยปลอดการชำระหนี้ 2 ปีแรก หลังจากนั้นแบ่งชำระคืน 4 งวด ตั้งแต่ปี 2565 – 2568
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษ ได้รับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรจากกรมส่งเสริม
สหกรณ์ จำนวน 6,500,000 บาท ได้ขับเคลื่อนโครงการดังกล่าว โดยการอนุมัติเงินกู้ให้กับ สหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกร จำนวน 9 แห่ง ได้แก่ 1) สหกรณ์การเกษตรราษีไศล จำกัด 2) สหกรณ์การเกษตรขุขันธ์ จำกัด
3) สหกรณ์การเกษตรเมืองศรีสะเกษ จำกัด 4) สหกรณ์การเกษตรพยุห์ จำกัด 5) สหกรณ์การเกษตรทรายทองร่วมใจ
พัฒนา จำกัด 6) สหกรณ์โคเนื้อดอกลำดวน จำกัด 7) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์หนองใหญ่ 8) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์ไฮ
ั
เลิง 9) กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์กระแซง สมาชิกเข้าร่วมโครงการฯทั้งสิ้น 130 ราย ได้นำเงินกู้ยืมไปพฒนาแหล่งน้ำ
ุ
ของตนเอง โดยการขุดสระเก็บกักน้ำและจุดเจาะบ่อบาดาลพร้อมอปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เงินกู้รายละไม่เกิน 50,000
บาท ปลอดดอกเบี้ย
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดศรีสะเกษ ได้ส่งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบออกติดตามผลการดำเนิน
โครงการอย่างต่อเนื่องและใกล้ชิด และส่งเสริมการประกอบอาชีพให้กับสมาชิกสหกรณ์ ควบคู่กับการถ่ายทอดองค์
ความรู้ในด้านการจัดการระบบสหกรณ์ สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ ฯ สามารถนำน้ำจากสระเก็บกักน้ำและบ่อบาดาล
ื่
ที่จัดทำขึ้นมาใช้เพอบรรเทาความเสียหายของผลิตผลจากวิกฤตภัยแล้งได้ ส่งผลให้สมาชิกมีรายได้อย่างต่อเนื่องและ
ยังสามารถทำการผลิตนอกฤดูกาลได้ทำให้จำหน่ายได้ในราคาสูงกว่าในฤดูกาล ประกอบกับการทำอาชีพเสริมของ
ี
สมาชิก เช่น การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ เป็นการสร้างรายได้ให้แก่สมาชิกอกทางหนึ่ง ทั้งนี้ ในการดำเนินโครงการฯ ได้มี
ิ
การตรวจสอบและติดตามการใช้เงินกู้ของสมาชิก พร้อมทั้งมีการเก็บค่าพกัดสระเก็บกักน้ำและบ่อบาดาลของสมาชิก
ิ
แต่ละราย ส่งเข้าระบบการจัดทำแผนที่พกัดของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เพอเป็นประโยชน์ในการติดตามผลการ
ื่
ดำเนินงาน และโครงการฯ ดังกล่าวยังเป็นประโยชน์กับสมาชิกในการปรับเปลี่ยนการทำเกษตรแบบพงพาธรรมชาติ
ึ่
เป็นการเกษตรแบบบริหารจัดการเพอลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ำ และยังเป็นการจัดระบบน้ำในไร่นาของ
ื่
สมาชิกมีแหล่งน้ำของตนเองเพอทำการเกษตรแบบยั่งยืนอย่างแท้จริง
ื่
3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
ื่
จังหวัดศรีสะเกษได้รับจัดสรรเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกรโครงการสนับสนุนเงินทุนเพอสร้าง
ระบบน้ำในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกร 2 จากกรมส่งเสริมสหกรณ์ จำนวน 6,500,000 บาท เป้าหมาย
สมาชิกเข้าร่วมโครงการ 130 ราย เป็นเงินกู้ยืมปลอดดอกเบี้ยให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นำไปให้สมาชิกกู้ยืม
Template รายงานผลการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 13 | ห น้ า
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร