Page 11 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 11

ศาสตราจารย์พิเศษนรนิติ เศรษฐบุตร นายกสภามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ไดย้ อ้ นอดตี ใหฟั้ งั วา่ จดุ เรมิ่ ตน้ ของการกอ่ ตง้ั ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นา ประชาธิปไตย สืบเนื่องจากดําาริว่า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ควรต้องมี ห น ว่ ย ง า น ท ส่ ี ง่ เ ส ร มิ แ น ว ค ดิ ท เ่ ี ก ย่ ี ว ข อ้ ง ก บั ป ร ะ ช า ธ ปิ ไ ต ย เ ร ยี น ร เ้ ู ร อ่ ื ง ป ร ะ ช า ธ ปิ ไ ต ย รวมถึงการเผยแพร่ความรู้ด้านประชาธิปไตยแก่สังคม และมหาวิทยาลัย ทว่ั โลกไดจ้ ดั ตงั้ ศนู ยใ์ นลกั ษณะนขี้ น้ึ มากมาย เพราะมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มีความผูกพันกับการเมืองและประชาธิปไตยมาโดยตลอด ประกาย ความคิดน้ีเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2537 ซึ่่ึงขณะน้ันตนดําารงตําาแหน่งอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ต้องการให้จัดตั้งหน่วยงานที่มีภารกิจในการ เผยแพร่ประชาธิปไตยไปสู่ประชาชน เพ่ือให้สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของ การจดั ตงั้ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ จงึ ไดเ้ สนอขออนมุ ตั จิ ากสภามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตยและขออนุมัติ งบประมาณจาํานวน100,000บาทเพอ่ืเผยแพรป่ระชาธปิไตยไปสปู่ระชาชน โดยใหศ้ นู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาประชาธปิ ไตยเปน็ หนว่ ยงานภายใตส้ งั กดั สาํา นกั งาน อธกิ ารบดี โดยมี รองศาสตราจารยน์ รนติ ิ เศรษฐบตุ ร อธกิ ารบดี (ตาํา แหนง่ ทาง วชิ าการในขณะนน้ั ) เปน็ ประธานศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาประชาธปิ ไตยคนแรก
ศาสตราจารยพ์ เิ ศษนรนติ ิ เลา่ ตอ่ ไปวา่ “ในชว่ งการพจิ ารณาการกอ่ ตง้ั ศนู ยฯ์ มกี รรมการสภามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรผ์ ทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอกทมี่ าจาก ภาครัฐบางท่านกังวลว่าการก่อตั้งศูนย์ฯ ดังกล่าวจะไปเกยี่ วข้องกับการเมือง เช่นการส่งคนไปสมัครรับเลือกตงั้ หรือจัดต้ังพรรคการเมืองจึงให้ข้อแนะนาํา และยํา้าวา่ การจดั ตงั้ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาประชาธปิ ไตยจะใหค้ วามสําาคญั เรอื่ ง การศึกษาด้านประชาธิปไตยเท่านั้น” สภามหาวิทยาลัยฯ ได้รับฟัังข้อเสนอ แนะและคําาแนะนําาของกรรมการสภาฯ และมมี ตอิ นมุ ตั ใิ หจ้ ดั ตงั้ ศนู ยศ์ กึ ษาการ พัฒนาประชาธิปไตย ซึ่ึ่งศูนย์ฯ บริหารงานโดยเชิญคณาจารย์จากคณะต่างๆ ในสายสงั คมศาสตรม์ าทําางานในรปู แบบของคณะกรรมการ ตอ่ มา ศนู ยศ์ กึ ษา
การพัฒนาประชาธิปไตย เปลี่ยนชื่อเป็น “สถาบันสัญญา ธรรมศักด์ิ เพ่ือ ประชาธปิ ไตย” เนอื่ งจากทา่ นศาสตราจารยส์ ญั ญา ธรรมศกั ด์ิ อดตี อธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ อดตี นายกรฐั มนตรที อี่ ยใู่ นชว่ งเหตกุ ารณส์ ําาคญั ทสี่ ดุ เหตกุ ารณห์ นง่ึ ในประวตั ศิ าสตรก์ ารเมอื งไทย คอื เหตกุ ารณ์ 14 ตลุ าคม 2516 ซึ่ึ่งเหตุการณ์ครั้งนั้นเป็นการต่อสู้ของนิสิต นักศึกษา เพื่อเรียกร้องให้ประเทศ เขา้ สกู่ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย ซึ่งึ่ ศาสตราจารยส์ ญั ญา ธรรมศกั ดิ์ เปน็ แบบอยา่ ง ทางการเมืองไทย ท่านเป็น “นักประชาธิปไตย” ผู้ปกครองประเทศไทยโดย วิธีการประชาธิปไตย จึงได้ขอนามท่านมาต้ังเป็นช่ือของสถาบันฯ
ศาสตราจารย์พิเศษนรนิติ กล่าวในตอนท้ายว่า สําานักงานสัญญา ธรรมศกั ดเ์ิ พอ่ื ประชาธปิ ไตย ตอ้ งถอื หลกั การวา่ “ตวั เลก็ แตท่ ําางานใหญ”่ โดย สร้างเครือข่ายและความร่วมมือ เพราะงานด้านสังคมศาสตร์ สามารถหาคน มาช่วยงานได้จากหลากหลายคณะ อาทิ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสงั คมวทิ ยาและมานษุ ยวทิ ยา เป็นต้น เพราะเร่ืองประชาธิปไตยเป็นเรื่องท่ีกว้างขวาง เพราะฉะน้ัน เราสามารถทาํา งานไดม้ าก และกระจายกนั ทาํา ทาํา ในสง่ิ ใหมๆ่ ทาํา ในสง่ิ ทค่ี นอน่ื ยงัไมไ่ดท้าําและเอาเรอ่ืงประชาธปิไตยเปน็หวัใจหลกั รวมถงึการสรา้งเครอืขา่ย ในระดบั นานาชาติ เนน้ งานดา้ นวจิ ยั การอบรมระยะสน้ั การจดั เสวนา/สมั มนา เพอ่ื เผยแพรค่ วามรดู้ า้ นประชาธปิ ไตย ซึ่ง่ึ เหน็ วา่ ปจั จบุ นั สาํา นกั งานสญั ญาธรรมศกั ด์ิ เพอ่ื ประชาธิปไตยไดร้ ับการยอมรับมากขน้ึ
  4 เรื่องเล่าของสัญญา
เรื่องเล่าของสัญญา 5





























































































   9   10   11   12   13